Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 อัฐวารปัสกา |
2 อัฐวารปัสกา วันศุกร์ต้นเดือน |
3 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลปัสกา ฉลองพระเมตตา |
4 สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวาจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
6 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา วันจักรี |
7 ระลึกถึง น.ยหอ์น บัปติสต์ เดอลาซาล พระสงฆ์ |
8 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
9 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
10 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
11 น.สตานิเลาส์ พระสังฆราชและมรณสักขี |
12 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
13 ระลึกถึง น.มาร์ตินที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี (วันสงกรานต์ ) |
14 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
16 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
17 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลปัสกา ( วันภาวนาเพื่อกระแสเรียก วันรณรงค์เพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ ) |
18 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
19 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
20 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
21 น.อันเซลม์ พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา |
23น.ยอร์จ มรณสักขี |
24 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
25 ฉลองน.มาระโฏ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
26 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
27 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
28 น.เปโตร ชาเนล พระสงฆ์และมรณสักขี น.หลุยส์มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ต พระสงฆ์ |
29 ระลึกถึง น.กาธารีนาแห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
30 น.ปีโอ ที่ 5 พระสันตะปาปา |
|
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับพญาสามองค์
- รายละเอียด
- หมวด: เทศกาลคริสต์มาส
- เขียนโดย คุณพ่อวีรศักดิ์ วนาโรจน์สุวิช
- ฮิต: 2144
ในธรรมประเพณีของศาสนาคริสต์ พญาสามองค์ หรือปราชญ์จากบูรพาทิศ หรือกษัตริย์จากแดนตะวันออก คือกลุ่มบุคคลต่างชาติกลุ่มหนึ่ง และเป็นบุคคลสำคัญ ที่เชื่อกันว่าได้มาเยี่ยม/นมัสการพระเยซูเจ้าหลังจากการบังเกิดของพระองค์ ได้นำของขวัญ อันมีทองคำ กำยาน และมดยอบ มาถวายแด่พระองค์ด้วย ทั้งสามท่านนี้จะปรากฏให้เราได้แลเห็นเป็นประจำอยู่เสมอ เมื่อมีการเฉลิมฉลองวันคริสต์มาสหรือวันสมภพของพระเยซู
พระวรสารของนักบุญมัทธิว เป็นพระวรสารฉบับเดียวจาก 4 ฉบับ ที่ได้มีการเอ๋ยถึง “พญาสามองค์” พลางบอกว่าท่านทั้งสามมาจาก “แดนตะวันออก” เพื่อจะมานมัสการพระคริสต์ “พระผู้ได้ทรงบังเกิดมาเป็น กษัตริย์ของชาวยิว” แม้เรื่องเล่าในพระวรสา รจะมิได้บอกเราว่าท่านเหล่านี้มีจำนวนเท่าใด แต่ของขวัญทั้ง 3 ชิ้นที่พวกท่านนำมาถวายแด่พระกุมารเยซูเจ้า ทำให้สามารถตั้งข้อสมมุติฐานว่าพวกท่านคงจะมีจำนวน 3 ท่านด้วยกัน การที่เชื่อว่ าท่านทั้งสามเป็นกษัตริย์ในผลงานเขียนของนักเขียนคริสตศาสนิกชนนั้น ก็เชื่อว่า คงจะถูกนำไปเชื่อมโยงกับหนังสือของประกาศกอิสยาห์ 60: 3 ที่บอกว่าพระแมสสิยาห์จะได้รับการกราบไ หว้นมัสการจากบรรดากษั ตริย์ “และบรรดาประชาชาติจะมายังความสว่างของเจ้า และพระราชาทั้งหลาย ยังความสุกใสแห่งการขึ้นของเจ้า”
เรื่องเล่า “พญาสามองค์” จากพระวรสารโดยนักบุญมัทธิว (มธ 2: 1-12)
ในรัชสมัยกษัตริย์เฮโรด พระเยซูเจ้าประสูติที่เมืองเบธเลเฮมในแคว้นยูเดีย โหราจารย์บางท่านจากทิศตะวันออก เดินทางมายังกรุงเย รูซาเล็ม สืบถามว่า “กษัตริย์ชาวยิวที่เพิ่งประสูติอยู่ที่ใด พวกเราได้เห็นดาวประจำพระองค์ขึ้น จึงพร้อมใจกันมาเพื่อนมัสการพระองค์ เมื่อกษัตริย์เฮโรดทรงทราบข่าวนี้ พระองค์ทรงวุ่นวายพระทัย ชาวกรุงเยรูซาเล็มทุกคนต่างก็วุ่นวายใจไปด้วย พระองค์ทรงเรียกประชุมบรรดาหัวหน้าสมณะและธรรมาจารย์ ตรัสถามเขาว่า “พระคริสต์จะประสูติที่ใด” เขาจึงทูลตอบว่า “ในเมืองเบธเลเฮม แคว้นยูเดีย” เพราะประกาศกเขียนไว้ว่า
“เมืองเบธเลเฮม ดินแดนยูดาห์
เจ้ามิใช่เล็กที่สุดในบรรดาหัวเมืองแห่งยูดาห์
เพราะผู้นำคนหนึ่งจะออกมาจากเจ้า
ซึ่งจะเป็นผู้นำอิสราเอล ประชากรของเรา”
ดังนั้น กษัตริย์เฮโรดทรงเรียกบรรดาโหราจารย์มาเฝ้าเป็นการส่วนพระองค์ ทรงซักถามถึงวันเ วลาที่ ดาวปรากฏ แล้วทรงใช้บรรดาโหราจารย์ไปที่เมืองเบธเลเฮม ทรงกำชับว่า “จงไปสืบถามเรื่องพระกุมารอย่างละเอียด และเมื่อพบพระ กุมารแล้ว จงกลับมาบอกให้เรารู้ เราจะไดไปนมัสการพระองค์ด้วย” เมื่อบรรดาโหราจารย์ได้ฟังพระดำรัสแล้ว ก็ออกเดินทาง ดาวที่เขาเห็นท างทิศตะวันออกปรากฏอีกครั้งหนึ่ง นำทางให้และมาหยุดนิ่งอยู่เหนือสถานที่ประทับของพระกุมาร เมื่อเห็นดาวอีกครั้งหนึ่ง บรรดาโหราจารย์ มีความยินดียิ่งนัก เ ขาเข้าไปในบ้าน พบพระกุมารกับพระนางมารีย์ พระมารดา จึงคุกเข่าลงนมัสการพระองค์ แล้วเปิดหีบสมบัตินำทองคำ ก ำยาน และมดยอบ ออกมาถวายพระองค์ แต่พระเจ้าทรงเตือนเขาในความฝัน มิให้กลับไปหากษัตริย์เฮโรด เขาจึงกลับไปบ้านเมืองของตนโดยทางอื่น
หลังจากที่พวกท่านได้กลับไปบ้านแล้ว พวกท่านยังได้รับการเอ๋ยถึงอีกสองครั้งด้วยกัน
ชื่อ/นามของพญาสามองค์
บรรดาคริสตชนต่างก็เชื่อกันว่าพญาสามองค์เป็นปราชญ์และเป็นกษัตริย์ด้วย คำว่า “Magi/Magic” ที่ใช้เรียกพญาสามองค์ในภาษาอังกฤษในรูปของพหูพจน์นั้น จริงๆแล้วมาจากภาษาเปอร์เซียโบราณ เป็นคำที่ใช้กับตระกูลพระสงฆ์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ พระสงฆ์พวกนี้ไ ด้ให้ความสนใจเป็นพิเศษในเรื่องของดารา ศาสตร์หรือการดูดาวนั่นเอง ซึ่งศาสตร์ที่ว่านี้ถูกรวมเข้าไปเป็นพิธีกรรมทางศาสนาแบบลึกลับไม่เป็นที่เปิดเ ผยให้คนที่ไม่เกี่ยวข้องได้รับรู้ (Occult)
ส่วนรายชื่อ/นามของพญาสามองค์ซึ่งได้รับการยอมรับโดยทั่วๆไปนั้น มีดังนี้คือ
- เมลคีออร์ (Melchior)
- คัสปาร์ (Caspar)
- บัลธะสาร์ (Balthassar)
จริงๆแล้วชื่อ/นามทั้งสามนี้ ได้มาจากภาษากรีกที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ประมาณปี ค.ศ. 500 ส่ว นในธรรมประเพณีของคริสตจักรแห่งอาร์เมเนีย เชื่อกันว่าพญาสามองค์ คือเมลคีออร์มาจากประเทศเปอร์เซีย คัสปาร์มาจากประเทศอินเดีย และบัลธะสาร์มาจากประเทศอาหรับ แต่ว่าคริสตชนในประเทศจีนเชื่อว่ามีพญาสามองค์ท่านหนึ่งมาจากประเทศจีน
แหล่งที่มาและการเดินทางของพญาสามองค์
วลีที่ว่ามาจาก “ทิศตะวันออก” เป็นข้อมูลที่ได้จากพระวรสารของนักบุ ญมัทธิวเท่านั้น ซึ่งบอกว่าพญาสามองค์มาจากไหน ตามธรรม ประเพณีที่ตกทอดสืบต่อกันมา ก็บอกว่าท่านทั้งสามเป็นชาวบาบีโลนเชื้อสายยิวตั้งแต่สมัยของประกาศกดาเนียล เพราะในสมัยนั้นกรุงบาบีโลนเป็นศูนย์กลางของวิทยาการต่ างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งดาราศาสตร์/การดูดาว
ตามคำบอกเล่าจากพระวรสารโดยนักบุญมัทธิว พญาสามองค์ได้พบพร ะกุมารเยซูโดยการติดตามดาวประจำพระองค์/ดาววิเศษ ซึ่งต่ อมาดาวประจำพระองค์ดวงนี้ ก็ได้รับขานนามว่า “ดาวแห่งเบธเลเฮม”
และเมื่อได้พบองค์พระกุมารเยซูแล้ว ท่านทั้งสามก็ได้ถวายของกำนัล/ของขวัญอันเป็นสัญลักษณ์ 3 ชิ้นด้วยกันคือ ทองคำ กำยานแ ละมดยอบ เนื่องจากท่านทั้งสามได้รับคำเตือนในฝันว่ากษัตริย์เฮโรดหาท างที่จะกำจัดกุมารน้อยเยซู ท่านทั้งสามจึงได้ตัดสินใจที่จะกลับบ้ านโดยทางอื่น ซึ่งได้กลายเป็นสาเหตุที่ยั่วยุให้กษัตริย์เฮโรดหาทางที่จะฆ่าเด็กอื่นๆทั้งหมดที่เมืองเบธเลเฮม อันเป็นพฤติกรรมของ “การฆ่าหมู่” ทารกผู้วิมล เพื่อกำจัดคู่แข่งชิงบัลลังค์ของพระองค์ อย่างไรก็ตาม พระกุมารเยซูและครอบครัวต้องอพยพหนีไป ประเทศอีจิปต์ก่อน หลังจากเหตุการณ์เหล่านี้แล้ว เรื่องราวขององค์พระกุมารเยซูก็ผ่านไปอย่างเงียบๆแบบไม่มีรายละเอียด เรื่องราว การบังเกิดของพระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมัทธิว ได้แสดงความชื่นชมในพระองค์ เทียบพระองค์กับโมเสส แล ะแสดงให้เห็นว่าชีวิตของพระองค์นั้นเป็นการทำให้คำทำนายของบรรดาประกาศกที่ได้พูดถึงพระองค์ ได้สำเร็จไป
หลังจากการมานมัสการองค์พระกุมารเยซูของพญาสามองค์ ท่านทั้งสามก็กลับไปบ้านเมืองของตนโดย ทางอื่น และไม่เป็นที่ปรากฏเรื่องราวของท่านทั้งสามอีกเลย นักบุญเกรกอรี่ ผู้ยิ่งใหญ่ พระสันตะปาปา ได้ทรงอธิบายเรื่องนี้เป็นการเพิ่ มเติมว่าหลังจากที่ได้รู้จักพระเยซูเจ้าแล้ว ท่านทั้งสามก็ถูกห้ามมิให้กลับบ้านโดยทางที่ พวกท่านได้เดินทางมา มีเรื่องราวต่างๆที่เล่าสืบต่อกันมาเกี่ยวกับพญาสามองค์หลังจากเหตุการณ์ที่ว่านี้ เรื่องหนึ่งก็ว่าท่านทั้งสา มได้รับศีลล้างบาปจากนักบุญโธมัส อัครสารวก ระหว่างทางที่นักบุญไปประกาศข่าวดีที่ประเ ทศอินเดีย อีกเรื่องหนึ่งก็บอกว่านักบุญเฮเลน มารดาของจักรพรรดิคอนสแตนติน มหาราช ได้พบพระธาตุของท่านทั้งสา มและได้นำกลับไปที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล และอีกเรื่องเล่าหนึ่งก็บอกว่าสุดท้ายพญาสามาองค์ไ ด้เดินทางมุ่งสู่ประเทศเยอรมันนี จึงมีสักการสถานของท่านทั้งสามที่อาสนวิหารของเมืองโคโลญน์จนถึงทุกวันนี้
ในธรรมประเพณีต่างก็เชื่อกันว่าพญาสามองค์นั้น เป็นกษัตริย์หรือผู้มีสกุลสูง จากเชื้อชาติที่แตกต่างกันออกไป ท่านหนึ่งจากยุโรปตะ วันตก เชื้อสายเซลติก(อังกฤษหรือฝรั่งเศส) ท่านหนึ่งจากอาฟริกา(อบิสซีเ นียหรือเอธิโอเปีย) ส่วนท่านที่สามจากเอเชีย(คาบสมุทรอาหรับ) หรือจากตะวันออกไกล(จีน) พูดง่ายๆก็คือท่านทั้งสามเป็นตัวแทนของ 3 ทวีป(ยุโรป อาฟริกา และเอเชีย) ส่วนของกำนัลที่ท่านทั้งสามน ำมามอบให้พ ระกุมารเยซู คือทองคำ(ยุโรป) กำยาน(อาฟริกา) และมดยอบ(เอเชีย)
ของขวัญ
เวลาที่พญาสามองค์มาพบพระกุมารเยซูนั้น ท่านทั้งสามได้คุกเข่าลงกราบนมัสการพระกุมาร อากัปกิริยาที่ว่านี้ พร้อมกับการคุกเข่าล งในเรื่องเล่าการบังเกิดขององค์พระกุมารเยซูในพระวรสารของนักบุญลูกา มีผลกระทบที่สำคัญมากๆในวิถีปฏิบัติทางศา สนาของคริสตศาส นา อันหมายถึงการให้ความเคารพอย่างมากๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อให้ความเคารพต่อกษัตริย์ เพราะเหตุผลดลใจจากเรื่องเล่านี้ การคุกเข่าและการก้มกราบก็ได้ถูกนำมาใช้ในพระศาสนจักรยุคแรกๆ ขณะที่การก้ม กราบในสมัยนี้มิสู้ได้รับการปฏิบัติในวัฒนธรรมตะวันตก แต่ว่าในพ ระศาสนจักรตะวันออก การก้มกราบนั้น ถือว่าเป็นเรื่องปรกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเทศกาลมหาพรต การคุกเข่ายังถือว่าเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของกราบไหว้ นมัสการของศาสนาคริสต์จนถึงทุกวันนี้
ของขวัญทั้งสามชิ้นเป็นอะไรนั้น ก็ได้รับคำบอกเล่าจากนักบุญมัทธิวว่าเป็นทองคำ กำยานและมดยอบซึ่งให้ความหมายแตกต่างกันดังนี้คือ
- ทองคำเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นกษัตริย์บนแผ่นดินโลก
- กำยานเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นสงฆ์/พระมหาสมณะ
- มดยอบเป็นสัญลักษณ์ของความตาย/การสิ้นพระชนม์
หรือมีความหมายอีกอย่างหนึ่งว่า
- ทองคำเป็นสัญลักษณ์ของคุณธรรม
- กำยานเป็นสัญลักษณ์ของคำอธิษฐานภาวนา
- มดยอบเป็นสัญลักษณ์ของการทนทุกข์ทรมาน
นักบุญยอห์น คริสซอสโตม (350-407) ได้ให้ข้อสังเกตไว้ว่าของขวัญที่พญา สามองค์ถวายแด่พระกุมารเยซูนั้น มิใช่ในฐานะที่พระอ งค์ทรงเป็นกษัตริย์เท่านั้น แต่ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าด้วย อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างที่ตาม ธรรมประเพณีของชนช าวยิวที่ถวายเครื่องบูชาแด่พระเจ้าเป็นแกะและลูกวัว ดังนั้นนักบุญยอห์น คริสซอสโตม จึงยืนยันว่าพญาสามองค์มากราบนมัสการพระกุมารเยซูในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าด้วย
หลุมศพ
มารโค โปโล ได้เล่าให้พวกเราฟังว่าเมื่อปี 1270 ท่านได้แลเห็นหลุมฝังศพ 3 หลุมด้วยกันของพญาสามองค์ที่เมืองซาเวห์ทางตอนใ ต้ของกรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน
ที่เมืองซาบาในประเทศเปอร์เซีย อันเป็นเมืองที่พญาสามองค์ได้เริ่มออกเดินทางและสุดท้ายท่านทั้งสามได้รับการปลงศพที่เมืองนี้ เ ป็นสามอนุสรณ์สถานที่ใหญ่โตและสวยงามมากตั้งเรียงกัน และบนอนุสรณ์สถานทั้งสามนี้ ก็มีอาคารย่อมๆเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสซึ่งได้รับการเก็บรักษาไว้อย่างสวยงาม ร่างของพญาสา มองค์ยังอยู่ครบถ้วน ผมและหนวดก็ยังคงอยู่
สักการสถานของพญาสามองค์ที่อาสนวิหารเมืองโคโลญน์ ตามที่เล่าสืบต่อกันมาว่าเป็นที่เก็บกระดูกของท่านทั้งสาม เป็นนักบุญเฮเลนาที่ได้เป็นผู้ค้นพบเป็นคนแรกเมื่อครั้งไปแสวงบุญ ณ แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ พระนางได้นำเอาซากกระดูกที่เ หลือกลับไปยังวัดเซนต์โซเฟียที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ต่อมาได้ถูกเคลื่อนย้ายไปที่เมืองมิลาน ก่อนที่พระจักรพรรดิเฟรเดริคที่ 1 แห่งอาณาจักรโรมันจะส่ งไปเก็บไว้ที่อาสนวิหารเมืองโคโลญน์ในปี 1164 แล ะได้รับการเก็บรักษาไว้จนถึงทุกวันนี้ ทุกๆปีในวันที่ 6 มกราคม ชาวเมืองมิลานจะจัดให้มีขบวนแห่ใหญ่โตเพื่อเป็นเกียรติแด่พญาสามองค์ ด้วยการแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าแบบสมัยกลาง
มีเรื่องเล่าที่ค่อนข้างละเอียดเกี่ยวกับพระธาตุของพญาสามองค์ที่ตั้งแสดงไว้ที่อาสนวิหารเมืองโ คโลญน์ ในศตวรรษที่ 14 โดยนักบวชท่านหนึ่ง ชื่อว่า ยอห์นแห่งฮิลเดสไฮม ในหนังสือ “ประวัติของพญาสามองค์” โดยเริ่มตั้งแต่การเดินทางของพระนางเฮเลนา พระมารดาของจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ไปยังกรุงเยรูซาเลม ที่ซึ่งพระนางได้ค้นพบไม้กางเขนที่แท้จริงของพระเยซูเจ้าอีกครั้งหนึ่ง รวมทั้งพระธา ตุอื่นๆด้วย
พระราชินีเฮเลนา...ได้เริ่มคิดถึงอย่างมากถึงร่างของพญาสามองค์นี้ พระนางจึงได้ตั้งใจเดินทางไปยังประเทศอินเดียพร้อมด้วยผู้ติด ตามจำนวนมาก หลังจากที่พระนางได้พบร่างของเมลคีออร์ คัสปาร์และบัล ธะสาร์ พระราชินีเฮเลนาก็ได้บรรจุร่างของท่านทั้งสามลงในหีบ ีและทำการตกแต่งด้วยเพชรนิลจินดามากมาย และได้นำกลับไปยังกรุงคอนสแตนติโนเปิล...และได้บรรจุร่างของพญาสามองค์ที่พระวิหารเซนต์โซเฟีย
ความหมายทางศาสนา
พระศาสนจักรตะวันตกส่วนใหญ่ทำการสมโภชการเสด็จไปนมัสการพระกุมารเยซูของพญาสามองค์ในวันที่ 6 มกราคม โดยเรียกชื่อว่า “Epiphany” ซึ่งหมายถึงการแสดงองค์ขององค์พระบุตรพระเจ้า พระเยซู ส่วนพระศาสนจักรออร์โธด๊อกซ์ตะวันออกฉ ลองพญาสามองค์ในวันที่ 25 ธันวาคม
การที่ถือว่าพญาสามองค์เป็นกษัตริย์ ได้ถูกนำเอาไปเชื่อมโยงกับคำทำนายของพระคัมภีร์ภาคพันธ สัญญาเดิมที่ได้พูดถึงพระเมสสิย าห์ว่าได้รับการกราบไหว้นมัสการจากเหล่ากษัตริย์ ในอสย 60: 3; สดด 72: 10; 68: 29 บรรดาผู้อ่านพระคัมภีร์ในยุคแรกๆได้ตีความพระวร สารของนักบุญมัทธิวในย่อหน้านี้ว่าหมา ยถึงคำทำนายดังกล่าว พลางได้ให้เกียรติพญาสามองค์ว่าเป็นกษัตริย์ จากปี 500 เป็นต้นมา ผู้อธิบายพระคัมภีร์ทั้งหลายต่างก็ยอมรับเอาธร รมประเพณีนี้ว่าพญาสามองค์คือกษัตริย์ จนถึงยุคของพวกปฏิรูปโปรแตสแตนท์
มีธรรมประเพณีทางศาสนาบางแหล่งที่มีทัศนะเชิงวิจารณ์ในทางลบถึงเรื่องของพญ าสามองค์ พลางบอกว่าการมาของพญาสามองค์นั้น ไม่ควรได้รับการเฉลิมฉลอง เพราะจากข้อเท็จจริงที่ว่าดาวประหลาดดวง นั้นที่พญาสามองค์ได้แลเห็นนั้น ก่อนอื่นหมด ได้นำไ ปสู่ความเป็นศัตรูกับองค์พระกุมารเยซูและนำไปสู่การไปค้นหาตำแหน่งที่ตั้งขององค์พระกุมาร พวกเขายังได้บอกต่อไปอีกว่าเหตุการณ์นี้ไม่น่าจะเป็นพระเจ้าที่ได้กำหนดขึ้น เพราะเ ป็นไปไม่ได้ที่พญาสามองค์จะถูกนำไปหาเจ้าครองนครที่มีเจตนาจะฆ่าพระกุมาร ก่อนที่ท่านทั้งสามจะได้มีโอกาสไปกราบไหว้องค์พระกุมารเสียก่อน เช่นเดียวกันในพระวรสารโดยนักบุญมัทธิว 2: 12 ก็ได้เล่าให้เราฟังว่าพญาสามองค์ได้รับการเตือนจากพระเจ้าว่ามิให้กลับไปหาก ษัตริย์เฮโรดที่ได้ทำการ ฆ่าหมู่เด็กทารก ธรรมประเพณีนี้ยังเชื่ออีกว่าดาวประหลาดดวงนั้นซึ่งเฉพาะพญาสามองค์สามารถแลเห็นได้นั้น เป็นผลิตผลของศัตรูเอกของพระเจ้าที่ได้วางแผนอันชั่วร้ายที่จะกำจัดพระกุมารเยซู
อย่างไรก็ตาม พญาสามองค์เป็นองค์อุปถัมภ์ของนักเดินทาง
ธรรมประเพณีอื่นๆ
- วันฉลองที่ทำการเฉลิมฉลองการมากราบไหว้นมัสการของพญาสามองค์ เป็นที่ยอมรับกันว่ามิได้เป็นวันเดียวกันกับวันสมภพของพร ะเยซูเจ้า เพราะว่าเรื่องราวเกี่ยวกับพญาสามองค์ที่มีเล่าอยู่ในพระวรสารของ นักบุญมัทธิว มิได้บอกว่าท่านทั้งสามได้มาปรากฏตัวอยู่ ณ คืน ที่พระเยซูทรงบังเกิด และนักบุญโยเซฟแล ะแม่พระก็อยู่ที่เมืองเบธเลเฮมจนถึงเวลาที่พระเยซูเจ้าทรงรับศีลตัดที่กรุงเยรูซาเล็ม และหลังจากนั้นจึงได้กลับบ้านไปอยู่ที่เมืองนาซาเร็ธ
- คริสตศาสนิกชนตะวันตก โดยเฉพาะอย่งยิ่งคริสตชนที่พูดภาษาเสปน เฉลิมฉลองพญาสามองค์ ณ วัน “พระคริสตเจ้าแสดงองค์” หรือ “Epiphany” ในวันที่ 6 มกราคม 12 วันหลังวันคริสต์มาส “Twelve Days of Christmas” และในวันฉลองนี้พญาสามองค์ “Three Kings of Orient” จะรับจดหมายที่แสดงออกถึงความปรารถนาต่างๆของพวกเด็กๆ และท่านทั้งสามก็จะนำของขวัญต่างๆมากมายมาให้กับพวกเด็ กๆในวันก่อนฉลองพญาสามองค์ ในประเทศเสปน พญาสามองค์แต่ละท่านจะเป็นตัวแทนของแต่ละทวีปแตกต่างกันออกไป คือยุโรปเป็นเมลคีออร์ เอเชียเป็นคัสปาร์ และอาฟริกาเป็นบัลธะสาร์ ตามธรรมประเพณี พญาสามองค์จะขี่อูฐมาจากแดนตะวันออกเพื่อจะมาเยี่ยมบ้านขอ งเด็กๆทั้งหลาย เหมือนๆกับซานตาคล๊อสที่ขี่กวางเรนเดียร์ ท่านทั้งสามจะมาเยี่ยมเด็กทุกๆคนในค่ำคืนก่อนวันฉลอง ในบางแห่ง พวกเด็กๆจ ะเตรียมเครื่องดื่มอย่างหนึ่งให้กับพญาสามองค์แต่ละท่าน ทั้งเตรียมอาหา รและเครื่องดื่มสำหรับอูฐด้วย เพราะนี่เป็นค่ำคืนคืนเดียวของปีที่ท่านทั้งสามและอูฐของท่านจะทานอาหาร
- มีธรรมประเพณีอย่างหนึ่งในทวีปยุโรปตอนกลาง ที่ให้เขียนอักษรตัวแรกของพญาสามองค์เหนือป ระตูใหญ่เข้าบ้าน เพื่อจะขอพรปีใหม่สำหรับบ้านและผู้ที่อาศัยอยู่ในบ้านนั้น ตัวอย่างเช่น สำหรับปี ค.ศ. 2011 ก็จะเขียนตัวอักษรว่า 20 + C + M + B +11 อักษรย่อตัวแรกของทั้งสามตัวอักษรนั้น อาจจะหมายถึง “Christus Mansionem benedicat” = “ขอพระคริสตเจ้าทรงอวยพรบ้านนี้” ด้วย ในส่วนที่เป็นคริสตชน คาทอลิกของประเทศเยอรมันนีและออสเตรีย ธรรมประเพณีที่ว่านี้ เป็นกลุ่ม “Sternsinger” = “นักร้องดารา” จะเป็นผู้จัดการเฉลิมฉล องนี้ พวกเด็กๆจะแต่งตัวเป็นพญาสามองค์ พลางแบกดาวไปตามบ้านและร้องเพลงคริสต์มาส และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนที่พวกเขาได้ทำตัวอักษรให้ พวกเด็กๆก็จะขอรับบริจาคเป็นเงินเพื่อนำไปช่วยเหลือพวกเด็กๆที่ยากจนในโลกที่สามอีกทอดหนึ่ง
- ในประเทศฟิลิปปินส์ เนื่องจากประชาชนเกือบทั้งหมดเป็นคริสตชนคาทอลิก เพราะได้รับอิทธิจากพวกสเปน พวกเด็กๆจะวางรอ งเท้าของตัวเองไว้คอยพญาสามองค์ในวันที่ 5 มกราคม คือวันก่อนวันฉลอ งพญาสามองค์ เพื่อว่าในวันรุ่งขึ้นที่ฉลองพญาสามองค์นั้น ท่า นทั้งสามจะได้นำของขวัญมาใส่ไว้ในรองเท้าของพวกเขา วันฉลองพญาสามองค์ถือว่าเป็นวันสิ้นสุดของช่วงฉลองวันหยุดยาวของเทศกาลคริสต์มาส แต่ ว่าบางครั้งก็ลากยาวไปจนถึงวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือนมกราคม ซึ่งเรียกว่า “Santo Nino” = “นักบุญพระกุมาร”
- สำหรับรูปต่างๆของพญาสามองค์ให้เปิดดู
www.wikipedia.org/biblical magi
ที่มา http://www.shb.or.th/article/nanasara/threeking/threeking.html
ปฏิทินเดือนเมษายน ปี 2016
ปฏิทินเดือนพฤษภาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
|
1 อาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันแรงงานแห่งชาติ ) |
2 ระลึกถึงน.อาทานาส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
3 ฉลองน.ฟิลิป และ น.ยากอบ อัครสาวก |
4 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
5 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันฉัตรมงคล ) |
6 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
7 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
8 สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ |
9 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
10 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
11 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
12น.เนเรโอ อาคิลเลโอ และ เพื่อนมรณสักขี น.ปันกราส มรณสักขี |
13 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งฟาติมา |
14 ฉลอง น.มัทธีอัส อัครสาวก |
15 สมโภชพระจิตเจ้า |
16 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
18 น.ยอห์นที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี |
19 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
20 น.เบอร์นาดิน แห่งซีเอนา พระสงฆ์ ( วันวิสาขบูชา ) |
21 น. คริสโตเฟอร์ มักอัลลาเนส และเพื่อนมรณสักขี |
22 สมโภชพระตรีเอกภาพ |
23 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
24 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
25 น.เกรโกรี่ที่ 7 พระสันตะปาปา น.เบดา พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร น.มารีย์ มักดาเลนา เด ปัสซี พรหมจารี |
26 ระลึกถึง น.ฟิลิป เนรี พระสงฆ์ |
27 น.ออกัสติน แห่งแคนเตอร์เบอรี พระสังฆราช |
28 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
29 สมโ๓ชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า |
30 สัปดาห์ที่ 9 เทศกาลธรรมดา |
31 ฉลองพระนางมารีย์เสด็จเยี่ยมเยียน ( วันงดสูบบุหรี่โลก ) |
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนมิถุนายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
1 ระลึกถึงน.ยุสติน มรณสักขี |
2 น.มาร์แชลลิน และ น.เปโตร มรณสักขี |
3 สมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
4 ระลึกถึงดวงหทัยของพระแม่มารีย์ |
5 อาทิตย์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา ( วันสิ่งแวดล้อมโลก ) |
6 น.นอร์เบิร์ต พระสังฆราช |
7 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
9 น.เอเฟรม สังฆานุกรและ นักปราชญ์ |
10 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึกถึง น.บาร์นาบัส อัครสาวก |
12 อาทิตย์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
13 ระลึกถึง น.อันตนแห่งปาดัว พระสงฆ์และนักปราชญ์ |
14 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
16 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
19 อาทิตย์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
20 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาล |
21 ระลึกถึงน.หลุยส์ คอนซากา นักบวช |
22 น.เปาลิน แห่งโนลา พระสังฆราช น.ยอห์น พิชเชอร์ และ โทมัส โมร์ มรณสักขี |
23 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
24 สมโภช น.ยอห์น แบปติสต์ บังเกิด |
25 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
26 อาทิตย์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันต่อต้านยาเสพติด ) |
27 น.ซีริล แห่งอเล็กซันเดรีย พระสังฆราชและนักปราชญ์พระศาสนจักร |
28 ระลึกถึง น.อีเรเนโอ พระสังฆราชและมรณสักขึ |
29 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันสมโภช น.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก ) เลื่อนไปสมโภช วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม |
30 น.ปฐมมรณสักขี แห่งพระศาสนจักรกรุงโรม |
|
|
|
ปฏิทินเดือนกรกฎาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
2 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา |
3 สมโภชน.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
4 น.เอลีซาเบธ ราชินีแห่งโปรตุเกส |
5 น.อันตน มารีย์ ซักกาเรีย พระสงฆ์ |
6 น.มารีย์กอแรตตี พรหมจารี และ มรณสักขี |
7 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
9 น.ออกัสติน เซา รง และเพื่อนมรณสักขีชาวจีน |
10 อาทิตย์ที่ 15 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึก น.เบเนดิกต์ เจ้าอธิการ ( วันประชากรโลก ) |
12 สัปดาห์ที่ 156 เทศกาลธรรมดา |
13 น.เฮนรี่ |
14 น.คามิลโล เด เลลลิส พระสงฆ์ |
15 ระลึกถึง น.บอนาแวนตูรา พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งภูเขาคาร์แมล |
17 อาทิตย์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
19 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
20 น.อโพลินาริส พระสังฆราช และ มรณสักขี ( วันเข้าพรรษา ) |
21 น.ลอเรนซ์ แห่งบรินดิซี พระสงฆ์และ นักปราชญ์ |
22 ระลึกถึง น.มารีย์ ชาวมักดาลา |
23 น.บรียิต นักบวช |
24 อาทิตย์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
25 ฉลอง น.ยากอบ อัครสาวก |
26 ระลึกถึง น.โยอากิม และ อันนา ( บิดามารดาของพระนางมารีย์พรหมจารี ) |
27 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
28 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึง น.มาร์ธา |
30 น.เปโตร คริโลโลโก พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
31 อาทิตย์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
ปฏิทินกิจกรรมเดือนสิงหาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 ระลึกถึง น.อัลฟองโซ มารีย์ เด ลิกวอรี พระสฆังชราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 น.เอวเซบิโอ แห่งแวร์แชลลี พระสังฆราช น.เปโตร ยูเลียน ไรม์ต พระสงฆ์ |
3 สัปดาห์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ยอห์น มารีย์ เวียนเนย์ พระสงฆ์ |
5 วันถวายพระวิหารแม่พระแห่งหิมะ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ฉลพงพระเยซูเจ้าทรงประจักษ์พระวรกาย ต่อหน้าอัครสาวก |
7 อาทิตย์ที่ 19 เทศกาลธรรมดา ( วันสื่อมวลชนสากล ) |
8 ระลึกถึง น.โดมินิก พระสงฆ์ |
9 น.เทเรซา เบเนติกตาแห่งไม้กางเขน พรหมจารีและมรณสักขี |
10 ฉลองน.ลอเรนซ์ สังฆานุกรและ มรณสักขี |
11 ระลึกถึง น.กลารา พรหมจารี |
12 น.ฌาน ฟรังซังส์ เดอ ซังตาล นักบวช |
13 น.ปอนซีอาโน พระสันตะปาปาป และ น.ฮิปโปลิต พระสงฆ์ และ มรณสักขี |
14 อาทิตย์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา ( สมโภชพระนางมารีย์รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ เลื่อนไปสมโภชวันที่ 21 สิงหาคม ) |
16 น.สเตเฟนแห่งประเทศ ฮังการี |
17 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยอห์น เอิ๊ด พระสงฆ์ |
20 ระลึกถึง น.เบอร์นาร์ต เจ้าอธิการและ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
21 สมโภชพระนางมารีย์รับเกียติเข้าสู่สวรรค์ ทั้งกายและวิญญาณ |
22 ระลึกถึง พระนามารีย์ราชินีแห่งสากลโลก |
23 น.โรซา ชาวลีมา พรหมจารี |
24 ฉลอง น.บาร์โธโลมิว |
25 น.หลุยส์ กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส น.โยเซฟ กาลาซานส์ พระสงฆ์ |
26 สัปดาห์ที่ 21 เทศกาลธรรมดา |
27 ระลึกถึง น.โมนิกา |
28 อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึงน.ยอห์น แบปติสต์ ถูกตัดศีรษะ |
30 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนกันยายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
2 สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ระลึก น.เกรโกรี พระสันตะปาปา และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
4 อาทิตย์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
5 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
6 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
7 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
8 ฉลองแม่พระบังเกิด |
9 น.เปโตร คลาแวร์ พระสงฆ์ |
10 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
11 อาทิตย์ที่ 24 เทศกาลธรรมดา |
12 พระนามศักดิ์สิทธิ์ของพระนางมารีย์พรหมจารี |
13 ระลึกถึง น.ยอห์น ครีโซสตม พระสังฆราชและ นักปราชญ์ |
14 ฉลองเทิดทูนไม้กางเขน |
15 ระลึกถึงแม่่พระมหาทุกข์ |
16 ระลึกถึงน.คอร์เนเลียส พระสันตะปาปาและ น.ซีเปรียน พระสังฆราชและมรณสักขี |
17น.โรเบิร์ต แบลลาร์มีโน พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
18 อาทิตย์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยานูอารีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี |
20 ระลึกถึง น.อันดรูว์ กิม เตก็อน พระสงฆ์ เปาโล จง ฮาซัง และเพื่อนมรณสักขีขาวเกาหลี ( วันเยาวชนแห่งชาติ ) |
21 ฉลอง น.มัทธิว อัครสาวกและ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
22 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
23 ระลึกถึง น.ปีโอแห่งปีเอเตรลชีนา พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
25 อาทิตย์ที่ 26 เทศกาลธรรมดา |
26 น.คอสมา และ น.ดาเมียน มรณสักขี |
27 ระลึกถึง น.วินเซนเดอปอล พระสงฆ์ |
28 น.แวนเชสเลาส์ มรณสักขี น.ลอเรนซ์ รุยส์ และเพื่อนมรณสักขี |
29 ฉลองอัครทูตสวรรค์ มีคาแอล คาเบรียล และ ราฟาแอล |
30 ระลึกถึง น.เยโรม พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
|
|
ปฏิทินเดือนตุลาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
1 ฉลองน.เทเรซาแห่งพระกุมารเยซู พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 อาทิตย์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
3 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ฟรังซิส แห่งอัสซีซี |
5 ระลึกถึง น.โฟสตีนา โควัลสกา |
6 น.บรูโน พระสงฆ์ |
7 ระลึกถึง แม่พระลูกประคำ (วันศุกร์ต้นเดือน ) |
8 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
9 อาทิตย์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
10 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
11 น.ยอห์นที่ 23 พระสันตะปาปา |
12 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
13 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
14 น.กัลลิสตัส ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี |
15 ระลึกถึง น.เทเรซาแห่งอาวีลา พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 อาทิตย์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา ( วันแพร่ธรรมสากล วันออกพรรษา ) |
17 ระลึกถึง น.อิกญาซีโอ ชาวอันติโอก พระสังฆราช และ มรณสักขี |
18 ฉลอง น.ลูกา ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
19 น.เปาโลแห่งไม้กางเขน พระสงฆ น.ยอห์น แห่ง เบรเบิฟ น.อิสอัค โยเกอ พระสงฆ์และ เพื่อนมรณสักขี |
20 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
21 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
22 น.ยอห์น ปอลที่ 2 พระสันตะปาปา |
23 อาทิตย์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา ( วันปิยมหาราช ) |
24 น.อันตน มารีย์ คลาเรต์ พระสังฆราช |
25 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
26 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
27 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
28 ฉลองน.ซีโมน และ น.ยูดาห์ อัครสาวก |
29 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
30 อาทิตย์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนพฤศจิกายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
1 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
2วันภาวนาอุทิศแด่ผู้ล่วงลับ |
3 น.มาร์ติน เด ปอเรส นักบวช |
4 ระลึกถึง น.ชาร์ส์ โบโรเมโอ พระสังฆราช ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
5 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
6 สมโภชนักบุญทั้งหลาย |
7 สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
8สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
9 ฉลองวันครบรอบการถวายพระวิหารลาเตรัน |
10 ระลึกถึงน.เลโอ พระสันตะปาปา และ นักปราชญืแห่งพระศาสนจักร |
11 ระลึกถึง น.มาร์ติน แห่งตูร์ พระสังฆราช |
12 ระลึกถึง น.โยซาฟัต พระสังฆราชและมรณสักขี |
13 อาทิตย์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา ( วันสิทธิมนุษยชน ) |
14 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
15 น.อัลเบิร์ต ผู้ยิ่งใหญ่ พระสังฆราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 น.มาร์กาเร็ต แห่งสก็อตแลนด์ น.เยอร์ทรู๊ด พรหมจารี |
17 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
18 วันครบรอบการถวายพระวิหาร นักบุญเปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
19 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
20 สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล ( วันกระแสเรียก ) |
21 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
22 ระลึกถึงน.เซซีลีอา พรหมจารีและมรณสักขี |
23 น.เคลเมนต์ ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี น.โคลัมบัน เจ้าอธิการ |
24 ระลึกถึง น.อันดรูว์ ดุง-ลัก พระสงฆ์และเพื่อนมรณสักขี |
25 น.กาทารีนา แห่ง อเล็กซานเดรีย พรหมจารีและมรณสักขี |
26 สัปดาห์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา |
27 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( เริ่มต้นปีพิธีกรรม ปี A ) |
28 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
29 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
30 ฉลอง น.อันดรูว์ อัครสาวก |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนธันวาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันรณรงค์โรคเอดส์ ) |
2 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ฉลองน.ฟรังซิสเซเวียร์ พระสงฆ์ องค์อุปถัมภ์มิสซัง |
4 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ ( พระคัมภีร์ ) |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ) |
6 น.นิโคลัส พระสังฆราช |
7 ระลึกถึง น.อัมโบรส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
8 สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล |
9 น.ฮวน ดีเอโก |
10 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ( วันรัฐธรรมนูญ ) |
11 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
12 พระนางมารีย์พรหมจารี แห่งกวาดาลูเป |
13 ระลึกถึง น.ลูเซีย พรหมจารี และ มรณสักขี |
14 ระลึกถึง น.ยอห์นแห่งไม้กางเขน นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
16 ระลึกถึง บุญราศีทั้งเจ็ดแห่งสองคอน ( วันครูคำสอนไทย ) |
17 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
18 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
19 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
20 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
21 น.เ)ตร คานีซีอัส พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่ง |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
23 น.ยอห์น แห่งเกตี้ พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
25 สมโภชพระคริสตสมภพ |
26 ฉลองน.สเทเฟน ปฐมมรณสักขี |
27 ฉลอง น.ยอห์น อัครสาวก ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
28 ฉลองนักบุญทารกผู้วิมล |
29 น.โทมัส เบ็กเก็ต พระสังฆราช และมรณสักขี |
30 ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า |
31 น.ซิลเวสเตอร์ที่ 1 พระสันตะปาปา ( วันเริ่มต้นเทศกาลปีใหม่ ) |
|
ปฏิทินเดือนมกราคม ปี 2017
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
2 ฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร ( เสกและแห่เทียน ) |
3 น.บลาซีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี น.อันสการ์ พระสังฆราช |
4 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
5 ระลึกถึง น.อากาทา พรหมจารีและมรณสักขี ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ระลึกถึง น.เปาโล มีกิ พระสงฆ์และเพือนมรณสักขี |
7 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
8 น.เยโรม เอมีลานี พระสงฆ์ น.โยเซผิน บาคีตา พรหมจารี |
9 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
10 วันพุธรับเถ้า ( เริ่มเทศกาลมหาพรต ถือศีลอดอาหาร และ อดเนื้อ ) |
11 แม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด ( วันผู้ป่วยโลก ) |
12 หลังวันพุธรับเถ้า |
13 หลังวันพุธรับเถ้า |
14 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
15 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
16 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
17 นักบุญเจ็ดองค์ผู้ตั้งคณะผู้รับใช้พระแม่มารีย์ |
18 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
19 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
20 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
21 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
22 ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตร อัครสาวก ( วันมาฆบูชา ) |
23 ระลึกถึง น.โปลีการ์ป พระสังฆราชและมรณสักขี |
24 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
25 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
26 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
27 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
28 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
29 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
|
|
|
|
|
|