The best bookmaker bet365

Best bookmaker bet365 register

                                     

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับพญาสามองค์



ในธรรมประเพณีของศาสนาคริสต์ พญาสามองค์ หรือปราชญ์จากบูรพาทิศ หรือกษัตริย์จากแดนตะวันออก คือกลุ่มบุคคลต่างชาติกลุ่มหนึ่ง และเป็นบุคคลสำคัญ ที่เชื่อกันว่าได้มาเยี่ยม/นมัสการพระเยซูเจ้าหลังจากการบังเกิดของพระองค์ ได้นำของขวัญ อันมีทองคำ กำยาน และมดยอบ มาถวายแด่พระองค์ด้วย ทั้งสามท่านนี้จะปรากฏให้เราได้แลเห็นเป็นประจำอยู่เสมอ เมื่อมีการเฉลิมฉลองวันคริสต์มาสหรือวันสมภพของพระเยซู

พระวรสารของนักบุญมัทธิว เป็นพระวรสารฉบับเดียวจาก 4 ฉบับ ที่ได้มีการเอ๋ยถึง “พญาสามองค์” พลางบอกว่าท่านทั้งสามมาจาก “แดนตะวันออก” เพื่อจะมานมัสการพระคริสต์ “พระผู้ได้ทรงบังเกิดมาเป็น กษัตริย์ของชาวยิว” แม้เรื่องเล่าในพระวรสา รจะมิได้บอกเราว่าท่านเหล่านี้มีจำนวนเท่าใด แต่ของขวัญทั้ง 3 ชิ้นที่พวกท่านนำมาถวายแด่พระกุมารเยซูเจ้า ทำให้สามารถตั้งข้อสมมุติฐานว่าพวกท่านคงจะมีจำนวน 3 ท่านด้วยกัน การที่เชื่อว่ าท่านทั้งสามเป็นกษัตริย์ในผลงานเขียนของนักเขียนคริสตศาสนิกชนนั้น ก็เชื่อว่า คงจะถูกนำไปเชื่อมโยงกับหนังสือของประกาศกอิสยาห์ 60: 3 ที่บอกว่าพระแมสสิยาห์จะได้รับการกราบไ หว้นมัสการจากบรรดากษั ตริย์ “และบรรดาประชาชาติจะมายังความสว่างของเจ้า และพระราชาทั้งหลาย ยังความสุกใสแห่งการขึ้นของเจ้า”

เรื่องเล่า “พญาสามองค์” จากพระวรสารโดยนักบุญมัทธิว (มธ 2: 1-12)

ในรัชสมัยกษัตริย์เฮโรด พระเยซูเจ้าประสูติที่เมืองเบธเลเฮมในแคว้นยูเดีย โหราจารย์บางท่านจากทิศตะวันออก เดินทางมายังกรุงเย รูซาเล็ม สืบถามว่า “กษัตริย์ชาวยิวที่เพิ่งประสูติอยู่ที่ใด พวกเราได้เห็นดาวประจำพระองค์ขึ้น จึงพร้อมใจกันมาเพื่อนมัสการพระองค์ เมื่อกษัตริย์เฮโรดทรงทราบข่าวนี้ พระองค์ทรงวุ่นวายพระทัย ชาวกรุงเยรูซาเล็มทุกคนต่างก็วุ่นวายใจไปด้วย พระองค์ทรงเรียกประชุมบรรดาหัวหน้าสมณะและธรรมาจารย์ ตรัสถามเขาว่า “พระคริสต์จะประสูติที่ใด” เขาจึงทูลตอบว่า “ในเมืองเบธเลเฮม แคว้นยูเดีย” เพราะประกาศกเขียนไว้ว่า

“เมืองเบธเลเฮม ดินแดนยูดาห์
เจ้ามิใช่เล็กที่สุดในบรรดาหัวเมืองแห่งยูดาห์
เพราะผู้นำคนหนึ่งจะออกมาจากเจ้า
ซึ่งจะเป็นผู้นำอิสราเอล ประชากรของเรา”

ดังนั้น กษัตริย์เฮโรดทรงเรียกบรรดาโหราจารย์มาเฝ้าเป็นการส่วนพระองค์ ทรงซักถามถึงวันเ วลาที่ ดาวปรากฏ แล้วทรงใช้บรรดาโหราจารย์ไปที่เมืองเบธเลเฮม ทรงกำชับว่า “จงไปสืบถามเรื่องพระกุมารอย่างละเอียด และเมื่อพบพระ กุมารแล้ว จงกลับมาบอกให้เรารู้ เราจะไดไปนมัสการพระองค์ด้วย” เมื่อบรรดาโหราจารย์ได้ฟังพระดำรัสแล้ว ก็ออกเดินทาง ดาวที่เขาเห็นท างทิศตะวันออกปรากฏอีกครั้งหนึ่ง นำทางให้และมาหยุดนิ่งอยู่เหนือสถานที่ประทับของพระกุมาร เมื่อเห็นดาวอีกครั้งหนึ่ง บรรดาโหราจารย์ มีความยินดียิ่งนัก เ ขาเข้าไปในบ้าน พบพระกุมารกับพระนางมารีย์ พระมารดา จึงคุกเข่าลงนมัสการพระองค์ แล้วเปิดหีบสมบัตินำทองคำ ก ำยาน และมดยอบ ออกมาถวายพระองค์ แต่พระเจ้าทรงเตือนเขาในความฝัน มิให้กลับไปหากษัตริย์เฮโรด เขาจึงกลับไปบ้านเมืองของตนโดยทางอื่น

หลังจากที่พวกท่านได้กลับไปบ้านแล้ว พวกท่านยังได้รับการเอ๋ยถึงอีกสองครั้งด้วยกัน

ชื่อ/นามของพญาสามองค์

บรรดาคริสตชนต่างก็เชื่อกันว่าพญาสามองค์เป็นปราชญ์และเป็นกษัตริย์ด้วย คำว่า “Magi/Magic” ที่ใช้เรียกพญาสามองค์ในภาษาอังกฤษในรูปของพหูพจน์นั้น จริงๆแล้วมาจากภาษาเปอร์เซียโบราณ เป็นคำที่ใช้กับตระกูลพระสงฆ์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ พระสงฆ์พวกนี้ไ ด้ให้ความสนใจเป็นพิเศษในเรื่องของดารา ศาสตร์หรือการดูดาวนั่นเอง ซึ่งศาสตร์ที่ว่านี้ถูกรวมเข้าไปเป็นพิธีกรรมทางศาสนาแบบลึกลับไม่เป็นที่เปิดเ ผยให้คนที่ไม่เกี่ยวข้องได้รับรู้ (Occult)

ส่วนรายชื่อ/นามของพญาสามองค์ซึ่งได้รับการยอมรับโดยทั่วๆไปนั้น มีดังนี้คือ

- เมลคีออร์ (Melchior)
- คัสปาร์ (Caspar)
- บัลธะสาร์ (Balthassar)

จริงๆแล้วชื่อ/นามทั้งสามนี้ ได้มาจากภาษากรีกที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ประมาณปี ค.ศ. 500 ส่ว นในธรรมประเพณีของคริสตจักรแห่งอาร์เมเนีย เชื่อกันว่าพญาสามองค์ คือเมลคีออร์มาจากประเทศเปอร์เซีย คัสปาร์มาจากประเทศอินเดีย และบัลธะสาร์มาจากประเทศอาหรับ แต่ว่าคริสตชนในประเทศจีนเชื่อว่ามีพญาสามองค์ท่านหนึ่งมาจากประเทศจีน

แหล่งที่มาและการเดินทางของพญาสามองค์

วลีที่ว่ามาจาก “ทิศตะวันออก” เป็นข้อมูลที่ได้จากพระวรสารของนักบุ ญมัทธิวเท่านั้น ซึ่งบอกว่าพญาสามองค์มาจากไหน ตามธรรม ประเพณีที่ตกทอดสืบต่อกันมา ก็บอกว่าท่านทั้งสามเป็นชาวบาบีโลนเชื้อสายยิวตั้งแต่สมัยของประกาศกดาเนียล เพราะในสมัยนั้นกรุงบาบีโลนเป็นศูนย์กลางของวิทยาการต่ างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งดาราศาสตร์/การดูดาว

ตามคำบอกเล่าจากพระวรสารโดยนักบุญมัทธิว พญาสามองค์ได้พบพร ะกุมารเยซูโดยการติดตามดาวประจำพระองค์/ดาววิเศษ ซึ่งต่ อมาดาวประจำพระองค์ดวงนี้ ก็ได้รับขานนามว่า “ดาวแห่งเบธเลเฮม”

และเมื่อได้พบองค์พระกุมารเยซูแล้ว ท่านทั้งสามก็ได้ถวายของกำนัล/ของขวัญอันเป็นสัญลักษณ์ 3 ชิ้นด้วยกันคือ ทองคำ กำยานแ ละมดยอบ เนื่องจากท่านทั้งสามได้รับคำเตือนในฝันว่ากษัตริย์เฮโรดหาท างที่จะกำจัดกุมารน้อยเยซู ท่านทั้งสามจึงได้ตัดสินใจที่จะกลับบ้ านโดยทางอื่น ซึ่งได้กลายเป็นสาเหตุที่ยั่วยุให้กษัตริย์เฮโรดหาทางที่จะฆ่าเด็กอื่นๆทั้งหมดที่เมืองเบธเลเฮม อันเป็นพฤติกรรมของ “การฆ่าหมู่” ทารกผู้วิมล เพื่อกำจัดคู่แข่งชิงบัลลังค์ของพระองค์ อย่างไรก็ตาม พระกุมารเยซูและครอบครัวต้องอพยพหนีไป ประเทศอีจิปต์ก่อน หลังจากเหตุการณ์เหล่านี้แล้ว เรื่องราวขององค์พระกุมารเยซูก็ผ่านไปอย่างเงียบๆแบบไม่มีรายละเอียด เรื่องราว การบังเกิดของพระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมัทธิว ได้แสดงความชื่นชมในพระองค์ เทียบพระองค์กับโมเสส แล ะแสดงให้เห็นว่าชีวิตของพระองค์นั้นเป็นการทำให้คำทำนายของบรรดาประกาศกที่ได้พูดถึงพระองค์ ได้สำเร็จไป

หลังจากการมานมัสการองค์พระกุมารเยซูของพญาสามองค์ ท่านทั้งสามก็กลับไปบ้านเมืองของตนโดย ทางอื่น และไม่เป็นที่ปรากฏเรื่องราวของท่านทั้งสามอีกเลย นักบุญเกรกอรี่ ผู้ยิ่งใหญ่ พระสันตะปาปา ได้ทรงอธิบายเรื่องนี้เป็นการเพิ่ มเติมว่าหลังจากที่ได้รู้จักพระเยซูเจ้าแล้ว ท่านทั้งสามก็ถูกห้ามมิให้กลับบ้านโดยทางที่ พวกท่านได้เดินทางมา มีเรื่องราวต่างๆที่เล่าสืบต่อกันมาเกี่ยวกับพญาสามองค์หลังจากเหตุการณ์ที่ว่านี้ เรื่องหนึ่งก็ว่าท่านทั้งสา มได้รับศีลล้างบาปจากนักบุญโธมัส อัครสารวก ระหว่างทางที่นักบุญไปประกาศข่าวดีที่ประเ ทศอินเดีย อีกเรื่องหนึ่งก็บอกว่านักบุญเฮเลน มารดาของจักรพรรดิคอนสแตนติน มหาราช ได้พบพระธาตุของท่านทั้งสา มและได้นำกลับไปที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล และอีกเรื่องเล่าหนึ่งก็บอกว่าสุดท้ายพญาสามาองค์ไ ด้เดินทางมุ่งสู่ประเทศเยอรมันนี จึงมีสักการสถานของท่านทั้งสามที่อาสนวิหารของเมืองโคโลญน์จนถึงทุกวันนี้

ในธรรมประเพณีต่างก็เชื่อกันว่าพญาสามองค์นั้น เป็นกษัตริย์หรือผู้มีสกุลสูง จากเชื้อชาติที่แตกต่างกันออกไป ท่านหนึ่งจากยุโรปตะ วันตก เชื้อสายเซลติก(อังกฤษหรือฝรั่งเศส) ท่านหนึ่งจากอาฟริกา(อบิสซีเ นียหรือเอธิโอเปีย) ส่วนท่านที่สามจากเอเชีย(คาบสมุทรอาหรับ) หรือจากตะวันออกไกล(จีน) พูดง่ายๆก็คือท่านทั้งสามเป็นตัวแทนของ 3 ทวีป(ยุโรป อาฟริกา และเอเชีย) ส่วนของกำนัลที่ท่านทั้งสามน ำมามอบให้พ ระกุมารเยซู คือทองคำ(ยุโรป) กำยาน(อาฟริกา) และมดยอบ(เอเชีย)

ของขวัญ

เวลาที่พญาสามองค์มาพบพระกุมารเยซูนั้น ท่านทั้งสามได้คุกเข่าลงกราบนมัสการพระกุมาร อากัปกิริยาที่ว่านี้ พร้อมกับการคุกเข่าล งในเรื่องเล่าการบังเกิดขององค์พระกุมารเยซูในพระวรสารของนักบุญลูกา มีผลกระทบที่สำคัญมากๆในวิถีปฏิบัติทางศา สนาของคริสตศาส นา อันหมายถึงการให้ความเคารพอย่างมากๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อให้ความเคารพต่อกษัตริย์ เพราะเหตุผลดลใจจากเรื่องเล่านี้ การคุกเข่าและการก้มกราบก็ได้ถูกนำมาใช้ในพระศาสนจักรยุคแรกๆ ขณะที่การก้ม กราบในสมัยนี้มิสู้ได้รับการปฏิบัติในวัฒนธรรมตะวันตก แต่ว่าในพ ระศาสนจักรตะวันออก การก้มกราบนั้น ถือว่าเป็นเรื่องปรกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเทศกาลมหาพรต การคุกเข่ายังถือว่าเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของกราบไหว้ นมัสการของศาสนาคริสต์จนถึงทุกวันนี้

ของขวัญทั้งสามชิ้นเป็นอะไรนั้น ก็ได้รับคำบอกเล่าจากนักบุญมัทธิวว่าเป็นทองคำ กำยานและมดยอบซึ่งให้ความหมายแตกต่างกันดังนี้คือ

- ทองคำเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นกษัตริย์บนแผ่นดินโลก
- กำยานเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นสงฆ์/พระมหาสมณะ
- มดยอบเป็นสัญลักษณ์ของความตาย/การสิ้นพระชนม์

หรือมีความหมายอีกอย่างหนึ่งว่า

- ทองคำเป็นสัญลักษณ์ของคุณธรรม
- กำยานเป็นสัญลักษณ์ของคำอธิษฐานภาวนา
- มดยอบเป็นสัญลักษณ์ของการทนทุกข์ทรมาน

นักบุญยอห์น คริสซอสโตม (350-407) ได้ให้ข้อสังเกตไว้ว่าของขวัญที่พญา สามองค์ถวายแด่พระกุมารเยซูนั้น มิใช่ในฐานะที่พระอ งค์ทรงเป็นกษัตริย์เท่านั้น แต่ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าด้วย อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างที่ตาม ธรรมประเพณีของชนช าวยิวที่ถวายเครื่องบูชาแด่พระเจ้าเป็นแกะและลูกวัว ดังนั้นนักบุญยอห์น คริสซอสโตม จึงยืนยันว่าพญาสามองค์มากราบนมัสการพระกุมารเยซูในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าด้วย

หลุมศพ

มารโค โปโล ได้เล่าให้พวกเราฟังว่าเมื่อปี 1270 ท่านได้แลเห็นหลุมฝังศพ 3 หลุมด้วยกันของพญาสามองค์ที่เมืองซาเวห์ทางตอนใ ต้ของกรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน

ที่เมืองซาบาในประเทศเปอร์เซีย อันเป็นเมืองที่พญาสามองค์ได้เริ่มออกเดินทางและสุดท้ายท่านทั้งสามได้รับการปลงศพที่เมืองนี้ เ ป็นสามอนุสรณ์สถานที่ใหญ่โตและสวยงามมากตั้งเรียงกัน และบนอนุสรณ์สถานทั้งสามนี้ ก็มีอาคารย่อมๆเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสซึ่งได้รับการเก็บรักษาไว้อย่างสวยงาม ร่างของพญาสา มองค์ยังอยู่ครบถ้วน ผมและหนวดก็ยังคงอยู่

สักการสถานของพญาสามองค์ที่อาสนวิหารเมืองโคโลญน์ ตามที่เล่าสืบต่อกันมาว่าเป็นที่เก็บกระดูกของท่านทั้งสาม เป็นนักบุญเฮเลนาที่ได้เป็นผู้ค้นพบเป็นคนแรกเมื่อครั้งไปแสวงบุญ ณ แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ พระนางได้นำเอาซากกระดูกที่เ หลือกลับไปยังวัดเซนต์โซเฟียที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ต่อมาได้ถูกเคลื่อนย้ายไปที่เมืองมิลาน ก่อนที่พระจักรพรรดิเฟรเดริคที่ 1 แห่งอาณาจักรโรมันจะส่ งไปเก็บไว้ที่อาสนวิหารเมืองโคโลญน์ในปี 1164 แล ะได้รับการเก็บรักษาไว้จนถึงทุกวันนี้ ทุกๆปีในวันที่ 6 มกราคม ชาวเมืองมิลานจะจัดให้มีขบวนแห่ใหญ่โตเพื่อเป็นเกียรติแด่พญาสามองค์ ด้วยการแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าแบบสมัยกลาง

มีเรื่องเล่าที่ค่อนข้างละเอียดเกี่ยวกับพระธาตุของพญาสามองค์ที่ตั้งแสดงไว้ที่อาสนวิหารเมืองโ คโลญน์ ในศตวรรษที่ 14 โดยนักบวชท่านหนึ่ง ชื่อว่า ยอห์นแห่งฮิลเดสไฮม ในหนังสือ “ประวัติของพญาสามองค์” โดยเริ่มตั้งแต่การเดินทางของพระนางเฮเลนา พระมารดาของจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ไปยังกรุงเยรูซาเลม ที่ซึ่งพระนางได้ค้นพบไม้กางเขนที่แท้จริงของพระเยซูเจ้าอีกครั้งหนึ่ง รวมทั้งพระธา ตุอื่นๆด้วย

พระราชินีเฮเลนา...ได้เริ่มคิดถึงอย่างมากถึงร่างของพญาสามองค์นี้ พระนางจึงได้ตั้งใจเดินทางไปยังประเทศอินเดียพร้อมด้วยผู้ติด ตามจำนวนมาก หลังจากที่พระนางได้พบร่างของเมลคีออร์ คัสปาร์และบัล ธะสาร์ พระราชินีเฮเลนาก็ได้บรรจุร่างของท่านทั้งสามลงในหีบ ีและทำการตกแต่งด้วยเพชรนิลจินดามากมาย และได้นำกลับไปยังกรุงคอนสแตนติโนเปิล...และได้บรรจุร่างของพญาสามองค์ที่พระวิหารเซนต์โซเฟีย

ความหมายทางศาสนา

พระศาสนจักรตะวันตกส่วนใหญ่ทำการสมโภชการเสด็จไปนมัสการพระกุมารเยซูของพญาสามองค์ในวันที่ 6 มกราคม โดยเรียกชื่อว่า “Epiphany” ซึ่งหมายถึงการแสดงองค์ขององค์พระบุตรพระเจ้า พระเยซู ส่วนพระศาสนจักรออร์โธด๊อกซ์ตะวันออกฉ ลองพญาสามองค์ในวันที่ 25 ธันวาคม

การที่ถือว่าพญาสามองค์เป็นกษัตริย์ ได้ถูกนำเอาไปเชื่อมโยงกับคำทำนายของพระคัมภีร์ภาคพันธ สัญญาเดิมที่ได้พูดถึงพระเมสสิย าห์ว่าได้รับการกราบไหว้นมัสการจากเหล่ากษัตริย์ ในอสย 60: 3; สดด 72: 10; 68: 29 บรรดาผู้อ่านพระคัมภีร์ในยุคแรกๆได้ตีความพระวร สารของนักบุญมัทธิวในย่อหน้านี้ว่าหมา ยถึงคำทำนายดังกล่าว พลางได้ให้เกียรติพญาสามองค์ว่าเป็นกษัตริย์ จากปี 500 เป็นต้นมา ผู้อธิบายพระคัมภีร์ทั้งหลายต่างก็ยอมรับเอาธร รมประเพณีนี้ว่าพญาสามองค์คือกษัตริย์ จนถึงยุคของพวกปฏิรูปโปรแตสแตนท์

มีธรรมประเพณีทางศาสนาบางแหล่งที่มีทัศนะเชิงวิจารณ์ในทางลบถึงเรื่องของพญ าสามองค์ พลางบอกว่าการมาของพญาสามองค์นั้น ไม่ควรได้รับการเฉลิมฉลอง เพราะจากข้อเท็จจริงที่ว่าดาวประหลาดดวง นั้นที่พญาสามองค์ได้แลเห็นนั้น ก่อนอื่นหมด ได้นำไ ปสู่ความเป็นศัตรูกับองค์พระกุมารเยซูและนำไปสู่การไปค้นหาตำแหน่งที่ตั้งขององค์พระกุมาร พวกเขายังได้บอกต่อไปอีกว่าเหตุการณ์นี้ไม่น่าจะเป็นพระเจ้าที่ได้กำหนดขึ้น เพราะเ ป็นไปไม่ได้ที่พญาสามองค์จะถูกนำไปหาเจ้าครองนครที่มีเจตนาจะฆ่าพระกุมาร ก่อนที่ท่านทั้งสามจะได้มีโอกาสไปกราบไหว้องค์พระกุมารเสียก่อน เช่นเดียวกันในพระวรสารโดยนักบุญมัทธิว 2: 12 ก็ได้เล่าให้เราฟังว่าพญาสามองค์ได้รับการเตือนจากพระเจ้าว่ามิให้กลับไปหาก ษัตริย์เฮโรดที่ได้ทำการ ฆ่าหมู่เด็กทารก ธรรมประเพณีนี้ยังเชื่ออีกว่าดาวประหลาดดวงนั้นซึ่งเฉพาะพญาสามองค์สามารถแลเห็นได้นั้น เป็นผลิตผลของศัตรูเอกของพระเจ้าที่ได้วางแผนอันชั่วร้ายที่จะกำจัดพระกุมารเยซู

อย่างไรก็ตาม พญาสามองค์เป็นองค์อุปถัมภ์ของนักเดินทาง

ธรรมประเพณีอื่นๆ

- วันฉลองที่ทำการเฉลิมฉลองการมากราบไหว้นมัสการของพญาสามองค์ เป็นที่ยอมรับกันว่ามิได้เป็นวันเดียวกันกับวันสมภพของพร ะเยซูเจ้า เพราะว่าเรื่องราวเกี่ยวกับพญาสามองค์ที่มีเล่าอยู่ในพระวรสารของ นักบุญมัทธิว มิได้บอกว่าท่านทั้งสามได้มาปรากฏตัวอยู่ ณ คืน ที่พระเยซูทรงบังเกิด และนักบุญโยเซฟแล ะแม่พระก็อยู่ที่เมืองเบธเลเฮมจนถึงเวลาที่พระเยซูเจ้าทรงรับศีลตัดที่กรุงเยรูซาเล็ม และหลังจากนั้นจึงได้กลับบ้านไปอยู่ที่เมืองนาซาเร็ธ

- คริสตศาสนิกชนตะวันตก โดยเฉพาะอย่งยิ่งคริสตชนที่พูดภาษาเสปน เฉลิมฉลองพญาสามองค์ ณ วัน “พระคริสตเจ้าแสดงองค์” หรือ “Epiphany” ในวันที่ 6 มกราคม 12 วันหลังวันคริสต์มาส “Twelve Days of Christmas” และในวันฉลองนี้พญาสามองค์ “Three Kings of Orient” จะรับจดหมายที่แสดงออกถึงความปรารถนาต่างๆของพวกเด็กๆ และท่านทั้งสามก็จะนำของขวัญต่างๆมากมายมาให้กับพวกเด็ กๆในวันก่อนฉลองพญาสามองค์ ในประเทศเสปน พญาสามองค์แต่ละท่านจะเป็นตัวแทนของแต่ละทวีปแตกต่างกันออกไป คือยุโรปเป็นเมลคีออร์ เอเชียเป็นคัสปาร์ และอาฟริกาเป็นบัลธะสาร์ ตามธรรมประเพณี พญาสามองค์จะขี่อูฐมาจากแดนตะวันออกเพื่อจะมาเยี่ยมบ้านขอ งเด็กๆทั้งหลาย เหมือนๆกับซานตาคล๊อสที่ขี่กวางเรนเดียร์ ท่านทั้งสามจะมาเยี่ยมเด็กทุกๆคนในค่ำคืนก่อนวันฉลอง ในบางแห่ง พวกเด็กๆจ ะเตรียมเครื่องดื่มอย่างหนึ่งให้กับพญาสามองค์แต่ละท่าน ทั้งเตรียมอาหา รและเครื่องดื่มสำหรับอูฐด้วย เพราะนี่เป็นค่ำคืนคืนเดียวของปีที่ท่านทั้งสามและอูฐของท่านจะทานอาหาร

- มีธรรมประเพณีอย่างหนึ่งในทวีปยุโรปตอนกลาง ที่ให้เขียนอักษรตัวแรกของพญาสามองค์เหนือป ระตูใหญ่เข้าบ้าน เพื่อจะขอพรปีใหม่สำหรับบ้านและผู้ที่อาศัยอยู่ในบ้านนั้น ตัวอย่างเช่น สำหรับปี ค.ศ. 2011 ก็จะเขียนตัวอักษรว่า 20 + C + M + B +11 อักษรย่อตัวแรกของทั้งสามตัวอักษรนั้น อาจจะหมายถึง “Christus Mansionem benedicat” = “ขอพระคริสตเจ้าทรงอวยพรบ้านนี้” ด้วย ในส่วนที่เป็นคริสตชน คาทอลิกของประเทศเยอรมันนีและออสเตรีย ธรรมประเพณีที่ว่านี้ เป็นกลุ่ม “Sternsinger” = “นักร้องดารา” จะเป็นผู้จัดการเฉลิมฉล องนี้ พวกเด็กๆจะแต่งตัวเป็นพญาสามองค์ พลางแบกดาวไปตามบ้านและร้องเพลงคริสต์มาส และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนที่พวกเขาได้ทำตัวอักษรให้ พวกเด็กๆก็จะขอรับบริจาคเป็นเงินเพื่อนำไปช่วยเหลือพวกเด็กๆที่ยากจนในโลกที่สามอีกทอดหนึ่ง

- ในประเทศฟิลิปปินส์ เนื่องจากประชาชนเกือบทั้งหมดเป็นคริสตชนคาทอลิก เพราะได้รับอิทธิจากพวกสเปน พวกเด็กๆจะวางรอ งเท้าของตัวเองไว้คอยพญาสามองค์ในวันที่ 5 มกราคม คือวันก่อนวันฉลอ งพญาสามองค์ เพื่อว่าในวันรุ่งขึ้นที่ฉลองพญาสามองค์นั้น ท่า นทั้งสามจะได้นำของขวัญมาใส่ไว้ในรองเท้าของพวกเขา วันฉลองพญาสามองค์ถือว่าเป็นวันสิ้นสุดของช่วงฉลองวันหยุดยาวของเทศกาลคริสต์มาส แต่ ว่าบางครั้งก็ลากยาวไปจนถึงวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือนมกราคม ซึ่งเรียกว่า “Santo Nino” = “นักบุญพระกุมาร”

- สำหรับรูปต่างๆของพญาสามองค์ให้เปิดดู
www.wikipedia.org/biblical magi

ที่มา http://www.shb.or.th/article/nanasara/threeking/threeking.html

 

ปฏิทินเดือนเมษายน ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

 

 

 

1 อัฐวารปัสกา

2 อัฐวารปัสกา วันศุกร์ต้นเดือน

3 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลปัสกา ฉลองพระเมตตา

4 สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวาจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์

5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา

6 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา วันจักรี

7 ระลึกถึง น.ยหอ์น บัปติสต์ เดอลาซาล พระสงฆ์

8 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา

9 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา

10 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลปัสกา

11 น.สตานิเลาส์ พระสังฆราชและมรณสักขี

12  สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา

13 ระลึกถึง น.มาร์ตินที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี (วันสงกรานต์ )

14 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา

15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา

16 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา

17 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลปัสกา ( วันภาวนาเพื่อกระแสเรียก วันรณรงค์เพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ )

18 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา

19 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา

20 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา

21 น.อันเซลม์ พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา

23น.ยอร์จ มรณสักขี

24 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา

25 ฉลองน.มาระโฏ ผู้นิพนธ์พระวรสาร

26 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา

27 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา

28 น.เปโตร ชาเนล พระสงฆ์และมรณสักขี น.หลุยส์มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ต พระสงฆ์

29 ระลึกถึง น.กาธารีนาแห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

30 น.ปีโอ ที่ 5 พระสันตะปาปา

 

ปฏิทินเดือนพฤษภาคม ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

 

 

 

 

 

1 อาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันแรงงานแห่งชาติ )

2  ระลึกถึงน.อาทานาส พระสังฆราชและนักปราชญ์

3 ฉลองน.ฟิลิป และ น.ยากอบ อัครสาวก

4 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา

5 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันฉัตรมงคล )

6 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันศุกร์ต้นเดือน )

7 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา

8 สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์

9 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา

10 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา

11 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา

12น.เนเรโอ อาคิลเลโอ และ เพื่อนมรณสักขี น.ปันกราส มรณสักขี

13 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งฟาติมา

14 ฉลอง น.มัทธีอัส อัครสาวก

15 สมโภชพระจิตเจ้า

16 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา

17 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา

18 น.ยอห์นที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี

19 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา

20 น.เบอร์นาดิน แห่งซีเอนา พระสงฆ์ ( วันวิสาขบูชา )

21 น. คริสโตเฟอร์ มักอัลลาเนส และเพื่อนมรณสักขี 

22 สมโภชพระตรีเอกภาพ

23 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา

24 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา

25 น.เกรโกรี่ที่ 7 พระสันตะปาปา น.เบดา พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร น.มารีย์ มักดาเลนา เด ปัสซี พรหมจารี

26 ระลึกถึง น.ฟิลิป เนรี พระสงฆ์

27 น.ออกัสติน แห่งแคนเตอร์เบอรี พระสังฆราช

28 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา

29 สมโ๓ชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า

30 สัปดาห์ที่ 9 เทศกาลธรรมดา 

31 ฉลองพระนางมารีย์เสด็จเยี่ยมเยียน ( วันงดสูบบุหรี่โลก )

 

 

 

 

 

ปฏิทินเดือนมิถุนายน ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

 

1 ระลึกถึงน.ยุสติน มรณสักขี

2 น.มาร์แชลลิน และ น.เปโตร มรณสักขี

3 สมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า ( วันศุกร์ต้นเดือน )

4 ระลึกถึงดวงหทัยของพระแม่มารีย์

5 อาทิตย์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา ( วันสิ่งแวดล้อมโลก )

6  น.นอร์เบิร์ต พระสังฆราช

7 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา

8 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา

9 น.เอเฟรม สังฆานุกรและ นักปราชญ์

10 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา

11 ระลึกถึง น.บาร์นาบัส อัครสาวก

12 อาทิตย์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา

13 ระลึกถึง น.อันตนแห่งปาดัว พระสงฆ์และนักปราชญ์

14 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา

15 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา

16  สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา

17 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา

18 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา

19 อาทิตย์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา

20 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาล

21 ระลึกถึงน.หลุยส์ คอนซากา นักบวช

22 น.เปาลิน แห่งโนลา พระสังฆราช น.ยอห์น พิชเชอร์ และ โทมัส โมร์ มรณสักขี

23 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา

24 สมโภช น.ยอห์น แบปติสต์ บังเกิด

25 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา 

26 อาทิตย์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันต่อต้านยาเสพติด )

27 น.ซีริล แห่งอเล็กซันเดรีย พระสังฆราชและนักปราชญ์พระศาสนจักร

28 ระลึกถึง น.อีเรเนโอ พระสังฆราชและมรณสักขึ

29 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันสมโภช น.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก ) เลื่อนไปสมโภช วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม  

30 น.ปฐมมรณสักขี แห่งพระศาสนจักรกรุงโรม

 

 

 

ปฏิทินเดือนกรกฎาคม ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

 

 

 

1 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน )

2 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา

3 สมโภชน.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก

4 น.เอลีซาเบธ ราชินีแห่งโปรตุเกส

5 น.อันตน มารีย์ ซักกาเรีย พระสงฆ์

6 น.มารีย์กอแรตตี พรหมจารี และ มรณสักขี

7 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา

8 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา

9 น.ออกัสติน เซา รง และเพื่อนมรณสักขีชาวจีน

10 อาทิตย์ที่ 15 เทศกาลธรรมดา

11 ระลึก น.เบเนดิกต์ เจ้าอธิการ ( วันประชากรโลก )

12 สัปดาห์ที่ 156 เทศกาลธรรมดา

13 น.เฮนรี่

14 น.คามิลโล เด เลลลิส พระสงฆ์

15 ระลึกถึง น.บอนาแวนตูรา พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

16 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งภูเขาคาร์แมล

17  อาทิตย์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา

18 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา

19 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา

20 น.อโพลินาริส พระสังฆราช และ มรณสักขี ( วันเข้าพรรษา )

21 น.ลอเรนซ์ แห่งบรินดิซี พระสงฆ์และ นักปราชญ์

22 ระลึกถึง น.มารีย์ ชาวมักดาลา

23 น.บรียิต นักบวช 

24 อาทิตย์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา

25 ฉลอง น.ยากอบ อัครสาวก

26 ระลึกถึง น.โยอากิม และ อันนา ( บิดามารดาของพระนางมารีย์พรหมจารี )

27 สัปดาห์ที่  17 เทศกาลธรรมดา

28 สัปดาห์ที่  17 เทศกาลธรรมดา

29 ระลึกถึง น.มาร์ธา

30 น.เปโตร คริโลโลโก พระสังฆราชและนักปราชญ์

31 อาทิตย์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา

ปฏิทินกิจกรรมเดือนสิงหาคม ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

1 ระลึกถึง น.อัลฟองโซ มารีย์ เด ลิกวอรี พระสฆังชราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

2 น.เอวเซบิโอ แห่งแวร์แชลลี พระสังฆราช น.เปโตร ยูเลียน ไรม์ต พระสงฆ์

3 สัปดาห์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา

4 ระลึกถึง น.ยอห์น มารีย์ เวียนเนย์ พระสงฆ์

5 วันถวายพระวิหารแม่พระแห่งหิมะ ( วันศุกร์ต้นเดือน )

6 ฉลพงพระเยซูเจ้าทรงประจักษ์พระวรกาย ต่อหน้าอัครสาวก

7 อาทิตย์ที่ 19 เทศกาลธรรมดา ( วันสื่อมวลชนสากล )

8 ระลึกถึง น.โดมินิก พระสงฆ์

9 น.เทเรซา เบเนติกตาแห่งไม้กางเขน พรหมจารีและมรณสักขี

10 ฉลองน.ลอเรนซ์ สังฆานุกรและ มรณสักขี

11 ระลึกถึง น.กลารา พรหมจารี

12 น.ฌาน ฟรังซังส์ เดอ ซังตาล นักบวช

13 น.ปอนซีอาโน พระสันตะปาปาป และ น.ฮิปโปลิต พระสงฆ์ และ มรณสักขี 

14 อาทิตย์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา

15 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา ( สมโภชพระนางมารีย์รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ เลื่อนไปสมโภชวันที่ 21 สิงหาคม )

16 น.สเตเฟนแห่งประเทศ ฮังการี

17 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา

18 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา

19 น.ยอห์น เอิ๊ด พระสงฆ์

20 ระลึกถึง น.เบอร์นาร์ต เจ้าอธิการและ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

21 สมโภชพระนางมารีย์รับเกียติเข้าสู่สวรรค์ ทั้งกายและวิญญาณ

22 ระลึกถึง พระนามารีย์ราชินีแห่งสากลโลก

23 น.โรซา ชาวลีมา พรหมจารี

24 ฉลอง น.บาร์โธโลมิว

25 น.หลุยส์ กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส น.โยเซฟ กาลาซานส์ พระสงฆ์

26 สัปดาห์ที่ 21 เทศกาลธรรมดา 

27 ระลึกถึง น.โมนิกา

28 อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา

29 ระลึกถึงน.ยอห์น แบปติสต์ ถูกตัดศีรษะ

30 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา

31 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา

 

 

 

 

ปฏิทินเดือนกันยายน ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

 

 

1 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา

2 สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน )

3 ระลึก น.เกรโกรี พระสันตะปาปา และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

4 อาทิตย์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา

5 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา

6 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา

7 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา

8 ฉลองแม่พระบังเกิด

9 น.เปโตร คลาแวร์ พระสงฆ์

10 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา

11 อาทิตย์ที่ 24 เทศกาลธรรมดา

12 พระนามศักดิ์สิทธิ์ของพระนางมารีย์พรหมจารี

13 ระลึกถึง น.ยอห์น ครีโซสตม พระสังฆราชและ นักปราชญ์

14 ฉลองเทิดทูนไม้กางเขน

15 ระลึกถึงแม่่พระมหาทุกข์

16 ระลึกถึงน.คอร์เนเลียส พระสันตะปาปาและ น.ซีเปรียน พระสังฆราชและมรณสักขี

17น.โรเบิร์ต แบลลาร์มีโน พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร 

18 อาทิตย์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา

19 น.ยานูอารีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี

20 ระลึกถึง น.อันดรูว์ กิม เตก็อน พระสงฆ์ เปาโล จง ฮาซัง และเพื่อนมรณสักขีขาวเกาหลี ( วันเยาวชนแห่งชาติ )

21 ฉลอง น.มัทธิว อัครสาวกและ ผู้นิพนธ์พระวรสาร

22 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา

23 ระลึกถึง น.ปีโอแห่งปีเอเตรลชีนา พระสงฆ์

24 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา

25 อาทิตย์ที่ 26 เทศกาลธรรมดา

26 น.คอสมา และ น.ดาเมียน มรณสักขี

27 ระลึกถึง น.วินเซนเดอปอล พระสงฆ์

28 น.แวนเชสเลาส์ มรณสักขี น.ลอเรนซ์ รุยส์ และเพื่อนมรณสักขี

29 ฉลองอัครทูตสวรรค์ มีคาแอล คาเบรียล และ ราฟาแอล 

30 ระลึกถึง น.เยโรม พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

 

 

ปฏิทินเดือนตุลาคม ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

 

 

 

 

1 ฉลองน.เทเรซาแห่งพระกุมารเยซู พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

2 อาทิตย์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา

3 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา

4 ระลึกถึง น.ฟรังซิส แห่งอัสซีซี

5 ระลึกถึง น.โฟสตีนา โควัลสกา

6 น.บรูโน พระสงฆ์

7 ระลึกถึง แม่พระลูกประคำ (วันศุกร์ต้นเดือน )

8 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา 

9 อาทิตย์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา

10 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา

11 น.ยอห์นที่ 23 พระสันตะปาปา

12 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา

13 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา

14 น.กัลลิสตัส ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี

15 ระลึกถึง น.เทเรซาแห่งอาวีลา พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

16 อาทิตย์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา ( วันแพร่ธรรมสากล วันออกพรรษา )

17 ระลึกถึง น.อิกญาซีโอ ชาวอันติโอก พระสังฆราช และ มรณสักขี

18 ฉลอง น.ลูกา ผู้นิพนธ์พระวรสาร

19 น.เปาโลแห่งไม้กางเขน พระสงฆ น.ยอห์น แห่ง เบรเบิฟ น.อิสอัค โยเกอ พระสงฆ์และ เพื่อนมรณสักขี

20 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา

21 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา

22 น.ยอห์น ปอลที่ 2 พระสันตะปาปา

23 อาทิตย์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา ( วันปิยมหาราช )

24 น.อันตน มารีย์ คลาเรต์ พระสังฆราช

25 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา

26 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา

27 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา

28 ฉลองน.ซีโมน และ น.ยูดาห์ อัครสาวก

29 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา

30 อาทิตย์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา

31 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา

 

 

 

 

 

 

ปฏิทินเดือนพฤศจิกายน ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

1 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา

2วันภาวนาอุทิศแด่ผู้ล่วงลับ

3 น.มาร์ติน เด ปอเรส นักบวช

4 ระลึกถึง น.ชาร์ส์ โบโรเมโอ พระสังฆราช ( วันศุกร์ต้นเดือน )

5 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา 

6 สมโภชนักบุญทั้งหลาย

7 สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา 

8สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา 

9 ฉลองวันครบรอบการถวายพระวิหารลาเตรัน

10 ระลึกถึงน.เลโอ พระสันตะปาปา และ นักปราชญืแห่งพระศาสนจักร

11 ระลึกถึง น.มาร์ติน แห่งตูร์ พระสังฆราช 

12 ระลึกถึง น.โยซาฟัต พระสังฆราชและมรณสักขี

13 อาทิตย์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา ( วันสิทธิมนุษยชน )

14 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา

15 น.อัลเบิร์ต ผู้ยิ่งใหญ่ พระสังฆราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

16 น.มาร์กาเร็ต แห่งสก็อตแลนด์ น.เยอร์ทรู๊ด พรหมจารี 

17 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช

18 วันครบรอบการถวายพระวิหาร นักบุญเปโตร และ เปาโล อัครสาวก

19 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา

20 สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล ( วันกระแสเรียก )

21 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช

22 ระลึกถึงน.เซซีลีอา พรหมจารีและมรณสักขี

23 น.เคลเมนต์ ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี น.โคลัมบัน เจ้าอธิการ

24 ระลึกถึง น.อันดรูว์ ดุง-ลัก พระสงฆ์และเพื่อนมรณสักขี

25 น.กาทารีนา แห่ง อเล็กซานเดรีย พรหมจารีและมรณสักขี

26 สัปดาห์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา

27 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( เริ่มต้นปีพิธีกรรม ปี  A )

28 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ 

29  สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ

30 ฉลอง น.อันดรูว์ อัครสาวก

 

 

 

 

ปฏิทินเดือนธันวาคม ปี 2016

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

 

 

 

1  สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันรณรงค์โรคเอดส์ )

2  สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันศุกร์ต้นเดือน )

3 ฉลองน.ฟรังซิสเซเวียร์ พระสงฆ์ องค์อุปถัมภ์มิสซัง

4 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ ( พระคัมภีร์ )

5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว )

6 น.นิโคลัส พระสังฆราช

7 ระลึกถึง น.อัมโบรส พระสังฆราชและนักปราชญ์

8 สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล

9 น.ฮวน ดีเอโก

10 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ( วันรัฐธรรมนูญ )

11 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ

12 พระนางมารีย์พรหมจารี แห่งกวาดาลูเป

13 ระลึกถึง น.ลูเซีย พรหมจารี และ มรณสักขี

14 ระลึกถึง น.ยอห์นแห่งไม้กางเขน นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร

15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ 

16 ระลึกถึง บุญราศีทั้งเจ็ดแห่งสองคอน ( วันครูคำสอนไทย )

17 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ

18 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ

19 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ 

20 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ

21 น.เ)ตร คานีซีอัส พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่ง

22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ

23 น.ยอห์น แห่งเกตี้ พระสงฆ์

24 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ 

25 สมโภชพระคริสตสมภพ

26 ฉลองน.สเทเฟน ปฐมมรณสักขี

27 ฉลอง น.ยอห์น อัครสาวก ผู้นิพนธ์พระวรสาร

28 ฉลองนักบุญทารกผู้วิมล

29 น.โทมัส เบ็กเก็ต พระสังฆราช และมรณสักขี

30 ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า

31 น.ซิลเวสเตอร์ที่ 1 พระสันตะปาปา ( วันเริ่มต้นเทศกาลปีใหม่ )

 

ปฏิทินเดือนมกราคม ปี 2017

Mon

Tue

Wed

Thu

Fri

Sat

Sun

1 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา

2 ฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร ( เสกและแห่เทียน )

3 น.บลาซีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี น.อันสการ์ พระสังฆราช

4 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา

5 ระลึกถึง น.อากาทา พรหมจารีและมรณสักขี ( วันศุกร์ต้นเดือน )

6 ระลึกถึง น.เปาโล มีกิ พระสงฆ์และเพือนมรณสักขี 

7 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา

8 น.เยโรม เอมีลานี พระสงฆ์ น.โยเซผิน บาคีตา พรหมจารี

9 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา

10 วันพุธรับเถ้า ( เริ่มเทศกาลมหาพรต ถือศีลอดอาหาร และ อดเนื้อ )

11 แม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด ( วันผู้ป่วยโลก )

12 หลังวันพุธรับเถ้า

13 หลังวันพุธรับเถ้า

14 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต

15 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต

16 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต

17 นักบุญเจ็ดองค์ผู้ตั้งคณะผู้รับใช้พระแม่มารีย์

18 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต

19 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต

20 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต

21 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต

22 ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตร อัครสาวก ( วันมาฆบูชา )

23 ระลึกถึง น.โปลีการ์ป พระสังฆราชและมรณสักขี

24 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต

25 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต

26 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต

27 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต

28 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต

29 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต

 

 

 

 

 

 

 

Template Design © Templates Joomla | GavickPro. All rights reserved.

Select style: Red Brown

Joomla! Debug Console

Session

Profile Information

การใช้งาน หน่วยความจำ

Database Queries