Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 อัฐวารปัสกา |
2 อัฐวารปัสกา วันศุกร์ต้นเดือน |
3 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลปัสกา ฉลองพระเมตตา |
4 สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวาจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
6 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา วันจักรี |
7 ระลึกถึง น.ยหอ์น บัปติสต์ เดอลาซาล พระสงฆ์ |
8 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
9 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
10 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
11 น.สตานิเลาส์ พระสังฆราชและมรณสักขี |
12 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
13 ระลึกถึง น.มาร์ตินที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี (วันสงกรานต์ ) |
14 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
16 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
17 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลปัสกา ( วันภาวนาเพื่อกระแสเรียก วันรณรงค์เพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ ) |
18 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
19 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
20 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
21 น.อันเซลม์ พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา |
23น.ยอร์จ มรณสักขี |
24 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
25 ฉลองน.มาระโฏ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
26 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
27 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
28 น.เปโตร ชาเนล พระสงฆ์และมรณสักขี น.หลุยส์มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ต พระสงฆ์ |
29 ระลึกถึง น.กาธารีนาแห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
30 น.ปีโอ ที่ 5 พระสันตะปาปา |
|
เครื่องยศพระสังฆราช
- รายละเอียด
- หมวด: แวดวงคาทอลิก
- เขียนโดย Super User
- ฮิต: 982
I.คทาพระสังฆราช
คทาพระสังฆราช (Baculus Pastorails, la crosse, croiser) เป็นไม้เท้าซึ่งพระสังฆราชได้รับในพิธีอภิเษก เป็นสัญลักษณ์ของเกียรติและอำนาจของท่านในการปกครองสัตบุรุษ
ที่มา
เป็นการยากที่จะลงความเห็นให้แน่ชัดลงไปว่า คทาพระสังฆราชนี้มีที่มาจากสิ่งใด บ้างก็ว่ามาจากไม้เท้าของคนเลี้ยงแกะ บ้างว่ามาจากไม้เท้าของโมเสสในพระคัมภีร์ บ้างว่ามาจากแผ่นไม้หรือหนังซึ่งครูในสมัยโบราณใช้เฆี่ยนนักเรียน บ้างว่ามาจากธารพระกร (ไม้เท้า) ของพระมหากษัตริย์ในสมัยคริสตังดั้งเดิม บางครั้งมีผู้พบไม้เท้าฝังไว้พร้อมกับผู้ตาย แต่นี่เป็นสัญลักษณ์การเดินทางไปสู่โลกหน้ามากกว่า
ประวัติ
ผู้ที่กล่าวขวัญถึงคทาพระสังฆราชเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นคนแรก ได้แก่ พระสันตะ ปาปา เชเลสติน ที่ 1 ในศตวรรษที่ 5 ต่อมาก็กล่าวถึงในพระสังคายนาที่เมืองโตเลโด ที่ประเทศสเปน ในปี ค.ศ. 633
นอกจากพระสังฆราชแล้วอธิการฤาษี (Abbas) ยังมีสิทธิ์ใช้คทาด้วย นักบุญโคลมบัน ในศตวรรษที่ 7 ได้กล่าวถึงคทาเป็นคนแรก ต่อมาคทาได้เป็นทั้งไม้เท้าเวลาเดินทาง และเป็นเครื่องยศของบรรดาอธิการฤาษีในประเทศไอร์แลนด์ ในศตวรรษต่อๆ มา พระศาสนจักรตะวันออกเริ่มใช้คทาพระสังฆราชนี้ภายหลังพระศาสนจักรลาตินมาก
ความหมาย
พระสังฆราชใช้คทาเช่นเดียวกับคนเลี้ยงแกะใช้ไม้เท้าเพื่อรวบรวมฝูงแกะ (สัตบุรุษ) เข้าเป็นพวกเดียวกัน เพื่อกระตุ้นเตือนผู้เกียจคร้าน และลงโทษผู้ทำผิดในพิธีอภิเษกพระสังฆราชขณะที่องค์อุปัชฌาย์ (ผู้ทำพิธีอภิเษก) มอบคทาแก่พระสังฆราชใหม่ ท่านกล่าวว่า
“จงรับคทาของผู้มีหน้าที่เลี้ยงแกะนี้ เพื่อจะได้มีความเคร่งครัด พร้อมด้วยความเมตตาในการตำหนิแก้ไขนิสัยชั่ว ตัดสินให้ความยุติธรรมโดยไม่เคียดแค้น เอาใจใส่วิญญาณผู้ฟัง อบรมเขาให้เกิดคุณธรรมความดี กำหนดโทษโดยเคร่งครัด แต่ด้วยใจสงบ”
ลักษณะ
แต่เดิมคทาพระสังฆราชมีรูปร่างและขนาดเหมือนไม้เท้าของคนแก่ในปัจจุบัน มีปลายโค้งเล็กน้อย แต่เนื่องจากเป็นเครื่องยศในพิธีกรรม จึงมีการประดับประดาให้งดงามพอสมควร
สมัยต่อมา เปลี่ยนเป็นคทามีปุ่มกลมๆ ที่ปลายงอและมักทำด้วยไม้สน ด้านนอกหุ้มด้วยโลหะ ส่วนปลายงอนั้นหุ้มด้วยทองแดงและมีลูกแก้วกลมติดอยู่ที่ปลาย ภายหลังมีผู้ใช้โลหะชุบเงินหรือทองแดงแทนไม้สน หรือบางครั้งทำด้วยงาช้าง และต่อให้ติดกันด้วยข้อที่ทำด้วยไม้
แบบที่สาม ตอนปลายเป็นกางเขน ปลายกางเขนงอ มักทำเป็นรูปงู เป็นแบบที่ใช้กันมากในพระศาสนจักรตะวันออก ในราวศตวรรษที่ 11 ปลายงอนั้นเปลี่ยนเป็นรูปวงขด และตกแต่งลวดลายต่างๆ ปัจจุบันนี้ในพระศาสนจักรลาติน คทาพระสังฆราชทำด้วยโลหะชุบเงินหรือทอง หรือทำด้วยไม้มีโลหะหรืองาช้างประดับอยู่ภายนอก รูปร่างตรงโคนค่อนข้างแหลม ปลายงอทำเป็นรูปต่างๆ สูงประมาณ 1.75 เมตร
โอกาสที่ใช้
พระสังฆราชมีสิทธิ์ใช้คทาในเขตสังฆมณฑลของตน หากอยู่นอกเขต ต้องได้รับอนุญาตจากสมณะผู้ปกครองท้องถิ่น หรือจากพระสันตะปาปา
พระสังฆราชถือคทาในขณะที่สวมหมวกสูง (Mitra) เพราะเป็นสิ่งที่ใช้คู่กับคทา ท่านถือคทาด้วยมือซ้ายให้ส่วนงอนั้นหันไปทางสัตบุรุษ ส่วนผู้ช่วยมิสซาเวลาถือคทาพระสังฆราชก็ถือให้ปลายงอหันออกเช่นเดียวกัน แต่เมื่อส่งคทาให้พระสังฆราช ต้องหันปลายงอเข้าหาตนเอง
II.หมวกสูง (Mitra, mitre, infula)
หมวกสูงคืออาภรณ์สงฆ์ชนิดหนึ่ง รูปร่างสูง ยอดแหลม พระสังฆราช หรืออธิการคณะฤาษี (Abbot) ใช้สวมบนศรีษะขณะประกอบศาสนกิจอย่างสง่า
ที่มา
คำ “Mitra” นี้ ในภาษาลาตินหรือภาษากรีกหมายความถึงผ้าสำหรับพันหรือโพกศีรษะชนิดหนึ่งซึ่งชาวบ้านชายหญิงในสมัยโบราณใช้กัน ไม่เกี่ยวข้องกับอาภรณ์ทางศาสนาแต่อย่างใด “Infula” เป็นผ้าพันศีรษะชนิดหนึ่งซึ่งนักบวชชายหญิงชาวโรมันใช้ พระสงฆ์ชาวยิวใช้หมวกชนิดหนึ่ง รูปร่างไม่ปรากฏแน่นอน แต่จากคำที่เรียก สันนิษฐานว่าคงมีรูปร่างกลม มหาปุโรหิตยิวในพระคัมภีร์ใช้ผ้าโพกศีรษะและมีแผ่นทองประดับอยู่ด้านข้าง
พระศาสนจักรดั้งเดิมมิได้นำหมวกของพระสงฆ์หรือของมหาปุโรหิตชาวยิวมาใช้ หรือดัดแปลงเป็นอาภรณ์สงฆ์ของตน หนังสือจารีตของพระศาสนจักรก่อนปี ค.ศ. 1000 มิได้กล่าวถึงหมวกสูงที่ว่านี้เลย ต้องรอจนเริ่มศตวรรษที่ 11 จึงเริ่มพูดถึงหมวกสูงนับตั้งแต่นั้นมาก็กล่าวถึงมากขึ้น เข้าใจว่าหมวกสูงนี้เริ่มใช้ที่กรุงโรมก่อน แล้วจึงค่อยๆ แพร่หลายไปทั่วโลก
ดอม เลอแครก์ ผู้เชี่ยวชาญในวิชาพิธีกรรม แสดงความเห็นว่า หมวกสูงของพระสังฆราชนี้คงดัดแปลงมาจากมงกุฎธรรมดาของกษัตริย์ หรือเจ้านายสมัยโบราณ ที่ทำด้วยโลหะนั่นเอง และเพื่อมิให้มีน้ำหนักมากเกินไป จึงทำด้วยผ้าทองหรือเงิน แทนที่จะทำด้วยโลหะ
ส่วนไตรมงกุฎ (Tiara) ของพระสันตะปาปา คงมีที่มาเช่นเดียวกันนี้ ปลายศตวรรษที่ 13 ไตรมงกุฎเริ่มเปลี่ยนรูป เริ่มติดลูกไม้ไว้ที่ฐาน ส่วนอื่นๆ ทำเป็นรูปดอกไม้ปักอยู่ทั่วไป ต่อมาขนาดของไตรมงกุฎยิ่งโตขึ้น และเพิ่มการประดับด้วยทองและเพชรพลอยและเติมผ้าสองผืนปล่อยให้ตกไปข้างหลังเป็นพู่ ส่วนบนยอดก็เติมลูกโลกทำด้วยทอง และเติมมงกุฎชั้นที่สองลงไปอีก ในปี ค.ศ. 1344 พระสันตะปาปา เบเนดิก ที่ 12 ทรงรับสั่งให้เติมมงกุฎชั้นที่สามอีกชั้นหนึ่ง ปัจจุบันเราจึงเรียกว่า ไตรมงกุฎ
ไตรมงกุฎเป็นเครื่องยศโดยเฉพาะสำหรับพระสันตะปาปาในโอกาสพิเศษจริงๆ สมเด็จพระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ทรงเลิกใช้ไตรมงกุฎ โดยมอบไตรมงกุฎของพระองค์แก่องค์กรการกุศลเพื่อคนยากจนในโลก สำหรับพิธีสำคัญๆ พระองค์ทรงสวมพระมาลาสูง (หมวก) แทน
ความหมาย
ความหมายของหมวกสูงของพระสังฆราชอยู่ในบทสวดที่พระสังฆราชผู้ประกอบพิธีอภิเษกกล่าว ขณะที่ท่านและพระสังฆราชผู้ช่วยพิธี 2 องค์ ช่วยกันสวมหมวกสูงให้พระสังฆราชที่รับการบวชใหม่ ท่านกล่าวว่า
“ข้าแต่พระสวามีเจ้า ข้าพเจ้าทั้งสามใส่หมวกป้องกัน และนำความรอดบนศีรษะแห่งท่านบดีนักสู้ของพระองค์ผู้นี้จะได้มีใบหน้างามสง่า ศีรษะมีอาวุธป้องกัน มีพระธรรมเก่าและใหม่เป็นเขาทั้งสอง ปรากฏเป็นที่น่าพรั่นพรึงแก่ศัตรูแห่งความจริง และโดยมีพระองค์คอยประสิทธิ์ประสาทพระหรรษทาน จะได้กลายเป็นนักรบกล้าแข็ง พระองค์เองในปางก่อนได้โปรดให้โมเสสได้เข้าร่วมสนทนากับพระองค์ กลับออกมามี หน้าตารุ่งโรจน์ ได้รับความสว่างและความจริง ปรากฏบนศีรษะเป็นรูปสองเขา และยังได้โปรดให้สมณะอารอนสวมหมวกเกียรติยศด้วย อาแมน”
ลักษณะ
หมวกสูงของพระสังฆราชประกอบด้วยรูปสามเหลี่ยมสองส่วน ทำด้วยกระดาษแข็งเพื่อรักษารูปและบุด้วยผ้า ส่วนล่างเย็บติดกันให้พอดีสำหรับสวมศีรษะ ส่วนบนและด้านข้างมีผ้าเย็บให้ติดกัน ปล่อยให้กว้างสำหรับยืดออกได้ และพับให้แบนได้เวลาเก็บ
หมวกสูง มี 2 แบบ คือ แบบโรมัน และแบบโกธิก แบบโรมัน เป็นแบบสูง เส้นข้างเป็นเส้นโค้ง สูงประมาณ 30 เซนติเมตร แบบโกธิก มีลักษณะสั้นกว่า เมื่อพับแล้วจะเห็นด้านข้างเป็นเหลี่ยม ความสูงประมาณ 20 เซนติเมตร
ตามหนังสือ “จารีตของพระสังฆราช” หมวกสูง แบ่งออกเป็น 3 ชั้น
1.หมวกสูงมีค่า (Mitra Pretiosa) ทำด้วยผ้าทองประดับด้วยดิ้นทองหรือเงิน และเพชรพลอยต่างๆ หรือมีแผ่นทองคำหรือเงินติดอยู่ด้านหน้า
2.หมวกสูงประดับทอง (Mitra Auriphrygiata) คล้ายชนิดแรก แต่ไม่มีแผ่นทองคำ หรือเงิน หรือเพชรพลอยประดับ
3.หมวกสูงธรรมดา (Mitra Simplex) ทำด้วยผ้าสีขาว ส่วนที่ห้อยตกไปข้างหลังเป็นพู่ 2 อัน ก็ทำด้วยผ้าสีขาวเช่นกัน และมีครุยสีดำ ส่วนผ้าซับในสำหรับหมวกสูงชนิดที่ 1 และ 2 จะมีผ้าซับในสีแดง ส่วนหมวกสูงชนิดที่ 3 จะมีผ้าซับในสีขาว
โอกาสที่ใช้
พระสังฆราชใช้หมวกสูงขณะที่นั่งบนบัลลังก์ ขณะล้างมือ เมื่อรับการโยนกำยาน เมื่อเดินในขบวนแห่ แต่เมื่ออยู่ต่อหน้าศีลมหาสนิท ท่านไม่สวมหมวกสูงหรือหมวกเล็ก
III.หมวกเล็ก (Pileolus, Calotte, Zuchetta)
หมวกเล็กเครื่องยศพระสังฆราชนี้ เป็นหมวกกลมๆ ใบเล็กๆ ไม่มีปีกซึ่งพระสันตะปาปา พระ คาร์ดินัล พระสังฆราช และพระสมณะผู้ใหญ่ที่ได้รับอนุญาตแล้ว เป็นผู้ใช้
ที่มา
เนื่องจากในสมัยโบราณ นักบวชชายในยุโรปต้องโกนผมเป็นวงกลมที่ขวัญ เพราะฉะนั้นเพื่อความอบอุ่นบนศีรษะ จึงจำเป็นต้องสวมหมวกกลมเล็กๆ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเครื่องยศไป
ลักษณะ
ในศตวรรษที่ 16 หมวกเล็กที่กล่าวนี้มีขนาดใหญ่กว่าปัจจุบันเพราะคลุมทั้งหูและต้นคอด้วยเหมือนกับหมวกที่พระสันตะปาปาในสมัยโบราณใช้เป็นประจำ ต่อมาในศตวรรษที่ 17 ก็ค่อยๆ ลดขนาดลงจนเหลือขนาดเล็กพอครอบศีรษะแบบปัจจุบันนี้ ตรงกลางหมวกมีที่จับทำด้วยด้ายหรือไหมถัก บางครั้งยังมีผ้าหบายๆ ทำเป็นซับในเพื่อช่วยให้เกาะศีรษะดียิ่งขึ้น
สี
หมวกเล็กของพระสันตะปาปามีสีขาว ของพระคาร์ดินัลมีสีแดงเลือดนก ของพระสังฆราชมีสีม่วง ของอธิการฤาษีมีสีดำ แต่บางองค์ก็มีสิทธิ์ใช้สีม่วงเช่นเดียวกับพระสังฆราช
พระสังฆราชมีสิทธิ์ใช้หมวกนี้หลังจากได้รับการแต่งตั้งแล้ว คือก่อนได้รับการอภิเษก ท่านสวมหมวกนี้ในพิธีทุกอย่างที่ท่านเป็นผู้ประกอบหรืออยู่ในที่นั้น ท่านสวมหมวกเล็กนี้ภายใต้หมวกสูงอีกทีหนึ่ง
IV.กางเขนห้อยคอ
กางเขนห้อยคอของพระสังฆราช ทำด้วยโลหะมีค่า พระสังฆราชหรืออธิการฤาษีใช้ห้อยที่คอ ส่วนสายที่ใช้ทำด้วยเชือก ริบบิ้น หรือทำเป็นสายสร้อย
ก่อนที่จะเป็นเครื่องยศของพระสังฆราช กางเขนนี้เคยใช้เป็นเครื่องแสดงความศรัทธาของบุคคลทั่วไป ฉะนั้นในสมัยโบราณ มิใช่เฉพาะพระมหาจักรพรรดิหรือพระสังฆราชเท่านั้น ที่ใช้กางเขนห้อยคอ แม้แต่สัตบุรุษธรรมดาก็ใช้ด้วย ส่วนกางเขนจะเป็นวัตถุมีค่ามากน้อยแค่ไหนนั้นก็แล้วแต่กำลังทรัพย์ของแต่ละคน
กางเขนของพระสังฆราชนี้ เคยมีรูปร่างแตกต่างกันมากมาย แล้วแต่สมัยและสถานที่ บางสมัยก็ทำเรียบๆ บางสมัยก็ทำแพรวพราวด้วยเพชรนิลจินดา หรือลงยาตามความนิยม สมัยก่อนตรงกลางของกางเขนจะทำเป็นช่องว่างสำหรับบรรจุพระธาตุนักบุญหรือพระธาตุไม้กางเขนแท้ ฉะนั้นจึงเรียกเป็น ผอบบรรจุพระธาตุ
พระสันตะปาปาเป็นผู้ใช้กางเขนห้อยคอเป็นเครื่องยศก่อน ต่อมาในศตวรรษที่ 12 และ 13 จึงปรากฏเป็นเครื่องยศส่วนหนึ่งของพระสังฆราช แต่เป็นเครื่องใช้นอกพิธีกรรม แม้ในปัจจุบันนี้กางเขนของพระสังฆราชก็ไม่ได้รับการเสกแต่อย่างใด และไม่นับรวมอยู่ในจำพวก “มรดก” ที่พระสังฆราชต้องทิ้งไว้ให้โบสถ์พระสังฆราช (อาสนวิหาร) ของตนด้วย
ลักษณะ
สมัยนี้กางเขนห้องคอพระสังฆราชทำด้วยทองคำหรือเงิน หรือโลหะชุบทอง ประดับด้วยเพชรพลอยและของมีค่า บางครั้งก็บรรจุพระธาตุนักบุญหรือพระธาตุไม้กางเขนแท้ของพระเยซูเจ้า สายที่ใช้ผูกกางเขนนี้ สำหรับพระสันตะปาปาเป็นเชือกทอง สำหรับพระคาร์ดินัลเป็นเชือกสีแดง ส่วนพระสังฆราชเป็นเชือกสีเขียว แต่อนุญาตให้ใช้สร้อยคอทองคำ หรือโลหะชุบทองแทนเชือกได้
ผู้มีอภิสิทธิ์ใช้กางเขนห้อยคอนี้อาจใช้ได้ทุกแห่งแม้เมื่ออยู่ต่อหน้าพระสันตะปาปา ส่วนพระสังฆราชมีอภิสิทธิ์ใช้ได้ตั้งแต่ได้รับการอภิเษกแล้ว
กางเขนนี้ใช้ห้อยคอไว้นอกเสื้อหล่อ เสื้อขาวยาวสำหรับทำพิธี (alba) เสื้อคลุมสั้นทั้งชนิดคลุมหมด (mozetta) หรือชนิดไม่มีแขน (mantelletta) แต่ห้ามสวมทับบนเสื้อถวายมิสซา (casula) หรือเสื้อคลุมอวยพร (cappa)
V.บัลลังก์พระสังฆราช (Cathedra, Throne, Trone)
บัลลังก์พระสังฆราชเป็นที่นั่งเฉพาะสำหรับพระสังฆราชในศาสนพิธี การใช้บัลลังก์เป็นอภิสิทธิ์ส่วนตัวของพระสังฆราช และใช้ได้ทุกหนทุกแห่งในเขตสังฆมณฑลของตน บัลลังก์ยังเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจและสิทธิ์ของพระสังฆราชที่จะสั่งสอนสัตบุรุษคริสตัง
ลักษณะ
บัลลังก์พระสังฆราชเป็นเก้าอี้ มีที่ท้าวแขนและพนักสูง สูงกว่ามาลาของพระสังฆราชขณะที่ท่านนั่งบนบัลลังก์นี้ บัลลังก์ตั้งอยู่บนพื้น 3 ชั้น ชั้นสูงสุดกว้างพอตั้งบัลลังก์ และยังมีที่เหลือพอให้พระสงฆ์ผู้ช่วยในพิธียืนข้างซ้ายและขวาได้อย่างสบาย ด้านหน้ากว้างพอให้เด็กช่วยมิสซาที่ถือหนังสือและเทียน คุกเข่าต่อหน้าพระสังฆราชได้ ยกพื้นนี้ไม่ควรทำให้สูงกว่าพื้นของพระแท่นใหญ่ในวัด
ข้างๆ บัลลังก์พระสังฆราช มีม้านั่งเล็กๆ ไม่มีพนัก 3 ตัว สำหรับให้พระสงฆ์ผู้ช่วยพระสังฆราช ดีอาโกโน และซุบดีอาโกโนนั่ง เหนือบัลลังก์ขึ้นไปทำเป็นหลังคา (Baldachino) และมีผ้าปิดเบื้องหลังลงมาถึงพื้น ขั้นบันไดของยกพื้นบัลลังก์ปูด้วยพรม แต่เป็นพรมชนิดที่มีค่าน้อยกว่าพรมปูพระแท่นใหญ่ ตัวที่นั่งของพระสังฆราชคลุมด้วยแพรสี ตามสีวันฉลองผ้าปิดเบื้องหลังบัลลังก์ที่ห้อยจากหลังคาลงมาถึงพื้นก็ใช้สีเดียวกัน ตามธรรมเนียมที่กรุงโรม ไม่ติดตราอาร์มของพระสังฆราชไว้ที่ผ้าปิดเบื้องหลังของบัลลังก์ แต่มักติดอยู่ที่ตัวหลังคาหรือส่วนที่ห้อย ออกมาข้างๆ บัลลังก์พระสังฆราชนี้ตั้งตายตัวอยู่ในวัดพระสังฆราช ส่วนที่วัดอื่น จัดตั้งขึ้นเฉพาะเมื่อพระสังฆราชมาทำพิธีเท่านั้น
ที่ตั้ง
บัลลังก์พระสังฆราชอาจตั้งได้ 2 แห่ง แล้วแต่ตำแหน่งของพระแท่นใหญ่ในวัด หากพระแท่นใหญ่อยู่กลางวัด เช่น ตามมหาวิหารใหญ่ๆ ในกรุงโรม บัลลังก์อยู่ที่ปลายสุดของวัด ติดผนังด้านหลัง และหันออกมาทางสัตบุรุษ แสดงว่าพระสังฆราชเป็นผู้ควบคุมแท้จริงของคณะสงฆ์ที่นั่งเป็นรูปครึ่งวงกลมอยู่ใกล้ๆ และของสัตบุรุษทั้งวัดที่อยู่ไกลออกไป (ความหมายดั้งเดิมของคำ Episcopus คือ ผู้ควบคุม)
หากพระแท่นใหญ่อยู่ติดกับฝาผนังด้านหลัง เมื่อนั้นบัลลังก์พระสังฆราชก็ตั้งอยู่ข้างพระวรสารโดยหันข้างให้สัตบุรุษ และห่างจากพระแท่นใหญ่พอที่จะสามารถทำพิธีได้สะดวก
VI.ฟัลดิสตอรีอูม (Faldistorium)
นอกจากบัลลังก์ที่ตั้งตายตัวแล้ว บางครั้งพระสังฆราชยังใช้ม้านั่งอีกชนิดหนึ่งในพิธี เรียกว่า ฟัลดิสตอรีอูม ม้านั่งชนิดนี้แต่เดิมทำแบบพับได้ ขาเป็นรูปตัว X มีที่ท้าวแขน แต่ไม่มีพนักพิงหลัง เป็นม้าที่ยกเปลี่ยนที่ได้สะดวก บางครั้งก็อยู่บนพื้นวัดหน้าพระแท่นใหญ่ ทางด้านซ้ายมือเวลามองเข้าไปทางพระแท่น บางครั้งก็ตั้งไว้กลางพระแท่น บนยกพื้นของพระแท่นที่พระสงฆ์ถวายมิสซา พระสังฆราชนั่งบนม้านี้ หันหน้าออกมาทางสัตบุรุษ บางครั้งก็กลับตั้งไว้ต่อหน้าพระสังฆราชเพื่อให้ท่านใช้เป็นที่ท้าวแขน ม้านั่งพระสังฆราชแบบนี้ คลุมด้วยแพรสีตามวันฉลองด้วย
VII.เสื้อคลุมเล็ก
เสื้อคลุมเล็กของพระสังฆราชมีอยู่ 2 ชนิด คือ ชนิดคลุมแค่บ่า ยาวถึงเอว เรียกว่า Mozzetta และชนิดไม่มีแขน แต่ยาวถึงเข่า เรียกว่า Manteletta ยังมีเสื้อคลุมยาวถึงข้อเท้า แต่ไม่มีแขน เรียกว่า Mantellone เป็นเสื้อของพระสมณะชั้นผู้ใหญ่ แต่มียศต่ำกว่าพระสังฆราช
เสื้อคลุมเล็กทั้ง 2 ชนิดนี้ มีสีม่วง เสื้อคลุมชนิดคลุมแค่บ่า (Mozzetta) เป็นสัญลักษณ์ของอำนาจหน้าที่ พระสังฆราชใช้ในเขตสังฆมณฑลของตน ส่วนเสื้อคลุมชนิดไม่มีแขน (Manteletta) พระสังฆราชใช้นอกสังฆมณฑลของตน
(คัดจากหนังสือ “สารสาสน์” ฉบับที่ 11, 13, 15, 16 ปีที่ 45, 1965, หน้า 342, 395, 471, 493)
ปัลลีอูม (Pallium)
ปัลลีอูม เป็นเครื่องหมายและสัญลักษณ์ที่ใช้ในพระศาสนจักร เป็นสายผ้าที่ทำจากขนแกะสีขาว มีสายห้อยอยู่สองด้าน พร้อมทั้งมีเครื่องหมายกางเขนสีดำ 6 อัน เป็นเครื่องหมายที่สมเด็จพระสันตะปาปาสวมบนบ่าและบางโอกาสบรรดาพระสังฆราชก็สวมไว้บนบ่าเช่นเดียวกัน ปัลลีอูมเป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงอำนาจสูงสุดในหน้าที่อัครสาวก (Plenitude of the Pontifical Office) และการมีส่วนร่วมในอำนาจหน้าที่ของสมเด็จพระสันตะปาปา บรรดาพระอัครสังฆราชจะยังคงไม่ได้รับรูปแบบแห่งอำนาจหน้าที่นี้จนกว่าจะมีการร้องขอและได้รับมอบแล้วเท่านั้นปัลลีอูมเป็นเครื่องหมายที่ทำจากขนแกะ และได้รับการเสกในวันฉลองนักบุญอักแนสในวัดนักบุญอักแนส (Fuori le mura) ในขณะที่มีการขับร้องบทเพลง Agnus Dei และก่อนที่จะถูกส่งออกไป จะถูกนำมาวางไว้บนหลุมศพนักบุญเปโตร ในมหาวิหารนักบุญ เปโตรเป็นเวลา 1 คืน
ประวัติแรกเริ่มของปัลลีอูมนี้ค่อนข้างมืดมน มาจากเครื่องหมายของจักรพรรดิแน่ และดูเหมือนว่าจะถูกสวมใส่โดยพระอัครสังฆราช โดยที่ยังไม่มีความเกี่ยวเนื่องกับกรุงโรม ต่อมาเมื่อสมเด็จพระสันตะปาปาได้ยอมใช้เครื่องหมายนี้แล้ว พระองค์ก็ได้ทรงส่งไปให้แก่พระผู้ใหญ่ของพระศาสนจักรในบางโอกาส เพื่อเป็นการให้เกียรติ และตั้งแต่นั้นมาวิธีนี้ก็เป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับมากขึ้น
ตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 เป็นต้นมา บรรดาพระอัครสังฆราช Metropolitans ต่างก็เรียกร้องขอเครื่องหมายนี้ ทางพระศาสนจักรตะวันออกเรียกเครื่องหมายนี้ว่า Omophorion มีลักษณะเป็นอักษรตัว Y แม้ว่าจะเลิกใช้ไปแล้ว แต่ก็ยังคงปรากฏให้เห็นอยู่บ้างเหมือนกัน
---------------------------------
(คัดจากหนังสือ “บิดาของเรา” พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู, ปีที่พิมพ์ 1998)
ปฏิทินเดือนเมษายน ปี 2016
ปฏิทินเดือนพฤษภาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
|
1 อาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันแรงงานแห่งชาติ ) |
2 ระลึกถึงน.อาทานาส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
3 ฉลองน.ฟิลิป และ น.ยากอบ อัครสาวก |
4 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
5 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันฉัตรมงคล ) |
6 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
7 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
8 สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ |
9 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
10 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
11 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
12น.เนเรโอ อาคิลเลโอ และ เพื่อนมรณสักขี น.ปันกราส มรณสักขี |
13 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งฟาติมา |
14 ฉลอง น.มัทธีอัส อัครสาวก |
15 สมโภชพระจิตเจ้า |
16 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
18 น.ยอห์นที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี |
19 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
20 น.เบอร์นาดิน แห่งซีเอนา พระสงฆ์ ( วันวิสาขบูชา ) |
21 น. คริสโตเฟอร์ มักอัลลาเนส และเพื่อนมรณสักขี |
22 สมโภชพระตรีเอกภาพ |
23 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
24 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
25 น.เกรโกรี่ที่ 7 พระสันตะปาปา น.เบดา พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร น.มารีย์ มักดาเลนา เด ปัสซี พรหมจารี |
26 ระลึกถึง น.ฟิลิป เนรี พระสงฆ์ |
27 น.ออกัสติน แห่งแคนเตอร์เบอรี พระสังฆราช |
28 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
29 สมโ๓ชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า |
30 สัปดาห์ที่ 9 เทศกาลธรรมดา |
31 ฉลองพระนางมารีย์เสด็จเยี่ยมเยียน ( วันงดสูบบุหรี่โลก ) |
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนมิถุนายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
1 ระลึกถึงน.ยุสติน มรณสักขี |
2 น.มาร์แชลลิน และ น.เปโตร มรณสักขี |
3 สมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
4 ระลึกถึงดวงหทัยของพระแม่มารีย์ |
5 อาทิตย์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา ( วันสิ่งแวดล้อมโลก ) |
6 น.นอร์เบิร์ต พระสังฆราช |
7 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
9 น.เอเฟรม สังฆานุกรและ นักปราชญ์ |
10 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึกถึง น.บาร์นาบัส อัครสาวก |
12 อาทิตย์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
13 ระลึกถึง น.อันตนแห่งปาดัว พระสงฆ์และนักปราชญ์ |
14 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
16 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
19 อาทิตย์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
20 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาล |
21 ระลึกถึงน.หลุยส์ คอนซากา นักบวช |
22 น.เปาลิน แห่งโนลา พระสังฆราช น.ยอห์น พิชเชอร์ และ โทมัส โมร์ มรณสักขี |
23 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
24 สมโภช น.ยอห์น แบปติสต์ บังเกิด |
25 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
26 อาทิตย์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันต่อต้านยาเสพติด ) |
27 น.ซีริล แห่งอเล็กซันเดรีย พระสังฆราชและนักปราชญ์พระศาสนจักร |
28 ระลึกถึง น.อีเรเนโอ พระสังฆราชและมรณสักขึ |
29 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันสมโภช น.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก ) เลื่อนไปสมโภช วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม |
30 น.ปฐมมรณสักขี แห่งพระศาสนจักรกรุงโรม |
|
|
|
ปฏิทินเดือนกรกฎาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
2 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา |
3 สมโภชน.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
4 น.เอลีซาเบธ ราชินีแห่งโปรตุเกส |
5 น.อันตน มารีย์ ซักกาเรีย พระสงฆ์ |
6 น.มารีย์กอแรตตี พรหมจารี และ มรณสักขี |
7 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
9 น.ออกัสติน เซา รง และเพื่อนมรณสักขีชาวจีน |
10 อาทิตย์ที่ 15 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึก น.เบเนดิกต์ เจ้าอธิการ ( วันประชากรโลก ) |
12 สัปดาห์ที่ 156 เทศกาลธรรมดา |
13 น.เฮนรี่ |
14 น.คามิลโล เด เลลลิส พระสงฆ์ |
15 ระลึกถึง น.บอนาแวนตูรา พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งภูเขาคาร์แมล |
17 อาทิตย์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
19 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
20 น.อโพลินาริส พระสังฆราช และ มรณสักขี ( วันเข้าพรรษา ) |
21 น.ลอเรนซ์ แห่งบรินดิซี พระสงฆ์และ นักปราชญ์ |
22 ระลึกถึง น.มารีย์ ชาวมักดาลา |
23 น.บรียิต นักบวช |
24 อาทิตย์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
25 ฉลอง น.ยากอบ อัครสาวก |
26 ระลึกถึง น.โยอากิม และ อันนา ( บิดามารดาของพระนางมารีย์พรหมจารี ) |
27 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
28 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึง น.มาร์ธา |
30 น.เปโตร คริโลโลโก พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
31 อาทิตย์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
ปฏิทินกิจกรรมเดือนสิงหาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 ระลึกถึง น.อัลฟองโซ มารีย์ เด ลิกวอรี พระสฆังชราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 น.เอวเซบิโอ แห่งแวร์แชลลี พระสังฆราช น.เปโตร ยูเลียน ไรม์ต พระสงฆ์ |
3 สัปดาห์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ยอห์น มารีย์ เวียนเนย์ พระสงฆ์ |
5 วันถวายพระวิหารแม่พระแห่งหิมะ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ฉลพงพระเยซูเจ้าทรงประจักษ์พระวรกาย ต่อหน้าอัครสาวก |
7 อาทิตย์ที่ 19 เทศกาลธรรมดา ( วันสื่อมวลชนสากล ) |
8 ระลึกถึง น.โดมินิก พระสงฆ์ |
9 น.เทเรซา เบเนติกตาแห่งไม้กางเขน พรหมจารีและมรณสักขี |
10 ฉลองน.ลอเรนซ์ สังฆานุกรและ มรณสักขี |
11 ระลึกถึง น.กลารา พรหมจารี |
12 น.ฌาน ฟรังซังส์ เดอ ซังตาล นักบวช |
13 น.ปอนซีอาโน พระสันตะปาปาป และ น.ฮิปโปลิต พระสงฆ์ และ มรณสักขี |
14 อาทิตย์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา ( สมโภชพระนางมารีย์รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ เลื่อนไปสมโภชวันที่ 21 สิงหาคม ) |
16 น.สเตเฟนแห่งประเทศ ฮังการี |
17 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยอห์น เอิ๊ด พระสงฆ์ |
20 ระลึกถึง น.เบอร์นาร์ต เจ้าอธิการและ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
21 สมโภชพระนางมารีย์รับเกียติเข้าสู่สวรรค์ ทั้งกายและวิญญาณ |
22 ระลึกถึง พระนามารีย์ราชินีแห่งสากลโลก |
23 น.โรซา ชาวลีมา พรหมจารี |
24 ฉลอง น.บาร์โธโลมิว |
25 น.หลุยส์ กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส น.โยเซฟ กาลาซานส์ พระสงฆ์ |
26 สัปดาห์ที่ 21 เทศกาลธรรมดา |
27 ระลึกถึง น.โมนิกา |
28 อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึงน.ยอห์น แบปติสต์ ถูกตัดศีรษะ |
30 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนกันยายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
2 สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ระลึก น.เกรโกรี พระสันตะปาปา และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
4 อาทิตย์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
5 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
6 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
7 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
8 ฉลองแม่พระบังเกิด |
9 น.เปโตร คลาแวร์ พระสงฆ์ |
10 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
11 อาทิตย์ที่ 24 เทศกาลธรรมดา |
12 พระนามศักดิ์สิทธิ์ของพระนางมารีย์พรหมจารี |
13 ระลึกถึง น.ยอห์น ครีโซสตม พระสังฆราชและ นักปราชญ์ |
14 ฉลองเทิดทูนไม้กางเขน |
15 ระลึกถึงแม่่พระมหาทุกข์ |
16 ระลึกถึงน.คอร์เนเลียส พระสันตะปาปาและ น.ซีเปรียน พระสังฆราชและมรณสักขี |
17น.โรเบิร์ต แบลลาร์มีโน พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
18 อาทิตย์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยานูอารีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี |
20 ระลึกถึง น.อันดรูว์ กิม เตก็อน พระสงฆ์ เปาโล จง ฮาซัง และเพื่อนมรณสักขีขาวเกาหลี ( วันเยาวชนแห่งชาติ ) |
21 ฉลอง น.มัทธิว อัครสาวกและ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
22 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
23 ระลึกถึง น.ปีโอแห่งปีเอเตรลชีนา พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
25 อาทิตย์ที่ 26 เทศกาลธรรมดา |
26 น.คอสมา และ น.ดาเมียน มรณสักขี |
27 ระลึกถึง น.วินเซนเดอปอล พระสงฆ์ |
28 น.แวนเชสเลาส์ มรณสักขี น.ลอเรนซ์ รุยส์ และเพื่อนมรณสักขี |
29 ฉลองอัครทูตสวรรค์ มีคาแอล คาเบรียล และ ราฟาแอล |
30 ระลึกถึง น.เยโรม พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
|
|
ปฏิทินเดือนตุลาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
1 ฉลองน.เทเรซาแห่งพระกุมารเยซู พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 อาทิตย์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
3 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ฟรังซิส แห่งอัสซีซี |
5 ระลึกถึง น.โฟสตีนา โควัลสกา |
6 น.บรูโน พระสงฆ์ |
7 ระลึกถึง แม่พระลูกประคำ (วันศุกร์ต้นเดือน ) |
8 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
9 อาทิตย์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
10 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
11 น.ยอห์นที่ 23 พระสันตะปาปา |
12 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
13 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
14 น.กัลลิสตัส ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี |
15 ระลึกถึง น.เทเรซาแห่งอาวีลา พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 อาทิตย์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา ( วันแพร่ธรรมสากล วันออกพรรษา ) |
17 ระลึกถึง น.อิกญาซีโอ ชาวอันติโอก พระสังฆราช และ มรณสักขี |
18 ฉลอง น.ลูกา ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
19 น.เปาโลแห่งไม้กางเขน พระสงฆ น.ยอห์น แห่ง เบรเบิฟ น.อิสอัค โยเกอ พระสงฆ์และ เพื่อนมรณสักขี |
20 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
21 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
22 น.ยอห์น ปอลที่ 2 พระสันตะปาปา |
23 อาทิตย์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา ( วันปิยมหาราช ) |
24 น.อันตน มารีย์ คลาเรต์ พระสังฆราช |
25 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
26 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
27 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
28 ฉลองน.ซีโมน และ น.ยูดาห์ อัครสาวก |
29 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
30 อาทิตย์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนพฤศจิกายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
1 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
2วันภาวนาอุทิศแด่ผู้ล่วงลับ |
3 น.มาร์ติน เด ปอเรส นักบวช |
4 ระลึกถึง น.ชาร์ส์ โบโรเมโอ พระสังฆราช ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
5 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
6 สมโภชนักบุญทั้งหลาย |
7 สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
8สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
9 ฉลองวันครบรอบการถวายพระวิหารลาเตรัน |
10 ระลึกถึงน.เลโอ พระสันตะปาปา และ นักปราชญืแห่งพระศาสนจักร |
11 ระลึกถึง น.มาร์ติน แห่งตูร์ พระสังฆราช |
12 ระลึกถึง น.โยซาฟัต พระสังฆราชและมรณสักขี |
13 อาทิตย์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา ( วันสิทธิมนุษยชน ) |
14 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
15 น.อัลเบิร์ต ผู้ยิ่งใหญ่ พระสังฆราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 น.มาร์กาเร็ต แห่งสก็อตแลนด์ น.เยอร์ทรู๊ด พรหมจารี |
17 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
18 วันครบรอบการถวายพระวิหาร นักบุญเปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
19 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
20 สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล ( วันกระแสเรียก ) |
21 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
22 ระลึกถึงน.เซซีลีอา พรหมจารีและมรณสักขี |
23 น.เคลเมนต์ ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี น.โคลัมบัน เจ้าอธิการ |
24 ระลึกถึง น.อันดรูว์ ดุง-ลัก พระสงฆ์และเพื่อนมรณสักขี |
25 น.กาทารีนา แห่ง อเล็กซานเดรีย พรหมจารีและมรณสักขี |
26 สัปดาห์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา |
27 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( เริ่มต้นปีพิธีกรรม ปี A ) |
28 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
29 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
30 ฉลอง น.อันดรูว์ อัครสาวก |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนธันวาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันรณรงค์โรคเอดส์ ) |
2 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ฉลองน.ฟรังซิสเซเวียร์ พระสงฆ์ องค์อุปถัมภ์มิสซัง |
4 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ ( พระคัมภีร์ ) |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ) |
6 น.นิโคลัส พระสังฆราช |
7 ระลึกถึง น.อัมโบรส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
8 สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล |
9 น.ฮวน ดีเอโก |
10 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ( วันรัฐธรรมนูญ ) |
11 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
12 พระนางมารีย์พรหมจารี แห่งกวาดาลูเป |
13 ระลึกถึง น.ลูเซีย พรหมจารี และ มรณสักขี |
14 ระลึกถึง น.ยอห์นแห่งไม้กางเขน นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
16 ระลึกถึง บุญราศีทั้งเจ็ดแห่งสองคอน ( วันครูคำสอนไทย ) |
17 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
18 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
19 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
20 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
21 น.เ)ตร คานีซีอัส พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่ง |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
23 น.ยอห์น แห่งเกตี้ พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
25 สมโภชพระคริสตสมภพ |
26 ฉลองน.สเทเฟน ปฐมมรณสักขี |
27 ฉลอง น.ยอห์น อัครสาวก ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
28 ฉลองนักบุญทารกผู้วิมล |
29 น.โทมัส เบ็กเก็ต พระสังฆราช และมรณสักขี |
30 ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า |
31 น.ซิลเวสเตอร์ที่ 1 พระสันตะปาปา ( วันเริ่มต้นเทศกาลปีใหม่ ) |
|
ปฏิทินเดือนมกราคม ปี 2017
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
2 ฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร ( เสกและแห่เทียน ) |
3 น.บลาซีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี น.อันสการ์ พระสังฆราช |
4 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
5 ระลึกถึง น.อากาทา พรหมจารีและมรณสักขี ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ระลึกถึง น.เปาโล มีกิ พระสงฆ์และเพือนมรณสักขี |
7 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
8 น.เยโรม เอมีลานี พระสงฆ์ น.โยเซผิน บาคีตา พรหมจารี |
9 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
10 วันพุธรับเถ้า ( เริ่มเทศกาลมหาพรต ถือศีลอดอาหาร และ อดเนื้อ ) |
11 แม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด ( วันผู้ป่วยโลก ) |
12 หลังวันพุธรับเถ้า |
13 หลังวันพุธรับเถ้า |
14 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
15 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
16 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
17 นักบุญเจ็ดองค์ผู้ตั้งคณะผู้รับใช้พระแม่มารีย์ |
18 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
19 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
20 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
21 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
22 ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตร อัครสาวก ( วันมาฆบูชา ) |
23 ระลึกถึง น.โปลีการ์ป พระสังฆราชและมรณสักขี |
24 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
25 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
26 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
27 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
28 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
29 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
|
|
|
|
|
|