Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 อัฐวารปัสกา |
2 อัฐวารปัสกา วันศุกร์ต้นเดือน |
3 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลปัสกา ฉลองพระเมตตา |
4 สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวาจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
6 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา วันจักรี |
7 ระลึกถึง น.ยหอ์น บัปติสต์ เดอลาซาล พระสงฆ์ |
8 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
9 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
10 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
11 น.สตานิเลาส์ พระสังฆราชและมรณสักขี |
12 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
13 ระลึกถึง น.มาร์ตินที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี (วันสงกรานต์ ) |
14 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
16 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
17 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลปัสกา ( วันภาวนาเพื่อกระแสเรียก วันรณรงค์เพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ ) |
18 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
19 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
20 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
21 น.อันเซลม์ พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา |
23น.ยอร์จ มรณสักขี |
24 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
25 ฉลองน.มาระโฏ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
26 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
27 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
28 น.เปโตร ชาเนล พระสงฆ์และมรณสักขี น.หลุยส์มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ต พระสงฆ์ |
29 ระลึกถึง น.กาธารีนาแห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
30 น.ปีโอ ที่ 5 พระสันตะปาปา |
|
พระคุณพระจิตเจ้า 7 ประการ
- รายละเอียด
- หมวด: บทความตามเทศกาล
- เขียนโดย คุณพ่อฟรังซิส ไกส์
- ฮิต: 2265
ที่มา : โดย คุณพ่อฟรังซิส ไกส์ (แสงธรรมปริทรรศน์ สู่ปี2000 ฉบับที่ 9)
สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่2ทรงเขียนไว้ใน พระสมณสาสน์เรื่องพระจิตเจ้า (18 พฤษภาคม1986) ว่า "พระจิตเจ้าทรงเป็นพระบุคคลในฐานะที่เป็นของประทาน หรือทรงเป็นพระบุคคลในฐานะที่เป็นความรัก"
ดังนั้นเราเข้าใจว่า ถ้าพระองค์เป็นความรักหมายถึงการให้ การอุทิศตนรับใช้ผู้อื่น และเราทราบว่าพระจิตเจ้าทรงเป็นแบบฉบับที่ดีที่สุดของผู้ให้ พระองค์ประทานพระคุณ 7 ประการแก่มนุษย์ คือ พระดำริ สติปัญญา ความคิดอ่าน พละกำลัง ความรู้ ความศรัทธา และความยำเกรงพระเจ้า และพระจิตเจ้าก็ได้ประทานพระคุณเหล่านี้ให้แก่พระเยซูเจ้าอย่างสมบูรณ์ ดังที่เราเห็นในกิจการและพระวาจาของพระคริสตเจ้าอย่างชัดเจน พระจิตเจ้ายังประทานพระคุณเหล่านี้ ให้แก่เราเพื่อให้เราสามารถมีความรู้สึกและทำกิจการเช่นเดียวกับพระคริสตเจ้าได้
สัญลักษณ์ของพระจิตเจ้า
นักบุญเทเรซาแห่งพระกุมารเยซูได้เห็นทะเลเป็นครั้งแรกเมื่ออายุ 7 ขวบ ท่านได้บันทึกความรู้สึกในวันนั้นว่า "ภาพของทะเลนั้นประทับใจดิฉันมากเหลือเกิน ดิฉันไม่อยากละสายตาไปจากภาพนี้เลย พลังของน้ำในทะเลกว้าง และเสียงของคลื่นที่ซัดฝั่งกระทบใจดิฉันให้มองเห็นความยิ่งใหญ่และพลานุภาพของพระเจ้า"
ประสบการณ์นี้แสดงให้เห็นว่า สิ่งต่าง ๆ ที่เราเห็นในธรรมชาติ อาจเป็นเครื่องหมายของสิ่งเหนือธรรมชาติซึ่งมองเห็นไม่ได้ สำหรับผู้ที่มีความเชื่อ สิ่งสร้างทั้งหลายมีอะไรบางอย่างที่คล้ายคลึงกับพระเจ้าผู้สร้างคุณลักษณะที่ดีของสิ่งสร้างสะท้อนให้เห็นคุณลักษณะบางอย่างในพระเจ้าแม้ยังไม่สมบูรณ์และมีขอบเขตจำกัด แต่ภาษาเปรียบเทียบเช่นนี้เป็นวิธีเดียวที่มนุษย์มีใช้เพื่อเข้าใจพระเจ้าและกล่าวถึงพระองค์
สัญลักษณ์ คือสิ่งซึ่งตัวของมันเองเสนอแนะหรือให้ความหมายโยงใยถึงอีกสิ่งหนึ่ง เช่น นกพิราบ นอกจากเป็นนกชนิดหนึ่งแล้ว ก็ยังเสนอความหมายสากลถึงสันติภาพ ในพระคัมภีร์เราพบสัญลักษณ์ของพระจิตเจ้าหลายประการ ผู้เขียนพระคัมภีร์คิดสัญลักษณ์ขึ้นมาเฉพาะตัว โดยแนะจินตนาการให้ผู้อ่านได้แลเห็นและมีความรู้สึกร่วมจนสามารถตีความให้เข้าใจความหมายได้ พระคัมภีร์ใช้สัญลักษณ์ 9 อย่างเพื่อกล่าวถึงพระจิตเจ้า คือ ลม น้ำ ไฟ ก้อนเมฆที่ส่องสว่าง การเจิม ตราประทับ มือ นิ้ว และนกพิราบ
พระคุณพระจิตเจ้า 7 ประการ
1.พระดำริ (หรือปรีชาญาณ) (พระคุณของพระจิต)
คือพระคุณที่ทำให้เรารู้สึกในอรรถรสของพระเจ้าและสิ่งสร้าง ทั้งช่วยเราให้สามารถแยกแยะความดีจากความชั่ว เมื่อเรารับพระเจ้า เราสามารถสัมผัสความรักของพระเจ้า และเห็นคุณค่าของทุกสิ่ง ที่พระเจ้าทรงสร้างมา ในธรรมชาติ เช่น เราจะรู้สึกว่าพระเจ้าทรงอยู่ใกล้ชิดเราเมื่อเราได้ยินเสียงใบไม้ไหว หรือเมื่อมองเห็นดาวกระพริบอยู่บนท้องฟ้าในเวลากลางคืน
สำหรับผู้ที่ได้รับปรีชาญาณ ชีวิตของตนแม้ต่ำต้อยหรือปกติที่สุดก็เป็นสิ่งน่าพิศวงเพราะรู้สึกว่า ทุกอย่างที่เกิดขึ้นมาจากพระเจ้า ในสมัยกลาง อิสอัค นักบวชชาวอังกฤษคนหนึ่งเคยกล่าวว่า "โลกนี้เป็นประโยชน์สองประการสำหรับมนุษย์ คือเลี้ยงเราและสอนเรา" พระจิตเจ้าทรงจัดให้สิ่งของในโลก มีไว้ไม่เพียงแต่เป็นอาหารเลี้ยงท้อง แต่เป็นอาหารเลี้ยงวิญญาณอีกด้วย ทุกสิ่งในโลกเป็นข่าวสารของพระเจ้าสำหรับเรา ผู้ที่ได้รับพระคุณแห่งปรีชาญาณนี้ สามารถรับสื่อเหล่านี้ และได้เรียนรู้ เช่น ดอกไม้ส่งกลิ่นนำความชื่นชมอย่างเงียบ ๆ ตะวันขึ้นทุกวันแม้ไม่มีใครมาตั้งใจชม กระแสน้ำที่ไหลเป็นนิจ นกร้องเหมือนกับคนอธิษฐานภาวนาอยู่เสมอ สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงตัวอย่างง่าย ๆ ของการเรียนรู้
ปรีชาญาณยังช่วยเราให้สามารถแยกแยะความดีจากความชั่ว กษัตริย์ซาโลมอนได้รับปรีชาญาณเมื่อทรงอธิษฐานภาวนาว่า “ข้าแต่พระยาห์เวห์ ข้าพเจ้ายังเป็นเด็ก ข้าพเจ้าไม่ทราบว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรถูก ขอพระองค์ประทานใจที่อ่อนน้อมว่านอนสอนง่าย เพื่อจะสามารถแยกแยะความดีจากความชั่ว” ดังนั้น ปรีชาญาณเป็นพระคุณที่ส่องแสงในจิตใจมนุษย์ และช่วยอธิบายความหมายของชีวิต อังเดร ฟอร์ซารด์ นักเขียนชาวฝรั่งเศส ก่อนจะตายได้เขียนว่า "มนุษย์ได้อำนาจมากกว่าปรีชาญาณ ถ้าไม่กลับใจ ในไม่ช้าก็จะประพฤติเหมือนสัตว์" ถูกของเขา ทุกอย่างที่มนุษย์สมัยนี้ได้ประดิษฐ์ขึ้นมา ก็มีไว้เพื่อขยายสมรรถภาพ ฝ่ายกาย เช่น โทรทัศน์ขยายความสามารถในการมองของตา รถยนต์ขยายความสามารถที่จะเดินของเท้า โทรศัพท์ก็มีไว้เพื่อขยายความสามารถในการฟังของหู แต่การขยายสมรรถภาพของร่างกายเช่นนี้ไม่ได้ส่วนกับการขยายสมรรถภาพของวิญญาณ มีแต่ปรีชาญาณเท่านั้นที่สามารถช่วยเราให้เห็น ให้ใช้สิ่งประดิษฐ์น่าทึ่งเหล่านี้อย่างถูกต้อง คือช่วยเราให้รู้จักใช้ทุกสิ่งเพื่อแสดงความรักที่มาจากพระเจ้าแก่ผู้อื่น ปล่อยให้ความรักของพระองค์ครอบครองจิตใจของเราและของมนุษย์
2.สติปัญญา (พระคุณของพระจิต)
คือพระคุณที่ทำให้เราเข้าใจในความจริงที่ต้องเชื่อและต้อง ปฏิบัติตามเป็นพระคุณที่ช่วยเรามิให้เป็นคนโง่เขลาเบาปัญญา แต่แสวงหาความจริงของทุกสิ่งอย่างลึกซึ้ง ดังที่ท่านนักบุญเปาโลเขียนไว้ว่า "พระจิตเจ้าทรงหยั่งรู้ทุกสิ่งทุกอย่างแม้กระทั่งสิ่งที่ลึกล้ำของพระเจ้า" (1คร. 2:10) พระพรนี้ช่วยเราให้พ้นพฤติกรรมของคนทั่วไปนับตั้งแต่เด็กมา คือ สลวนสนใจเพียงเรื่องภายนอก เช่น ความสวยงาม การแต่งตัว ทรัพย์สมบัติ ความนิยมชมชอบ การได้หน้าได้ตา เกียรติยศชื่อเสียง พระพรนี้ช่วยให้เราพ้นจากโรคเหล่านี้ที่ขึ้นสมองของคนทั่วไป ทำให้เราเป็นคนหนึ่งที่มองเห็นคุณค่าที่สูงกว่านั้นในทุกสิ่ง
พระคุณแห่งสติปัญญายังช่วยเราให้เข้าใจพระคัมภีร์ พระวาจาของพระเจ้าอย่างถูกต้องตามพระสัญญาของพระคริสตเจ้าทตรัสว่า "เมื่อพระจิตเจ้าแห่งความจริงจะเสด็จมา พระองค์จะนำทางท่านทั้งหลายไปสู่ความจริงทั้งหมด" (ยน. 16:13) นอกจากนั้น สติปัญญาจะช่วยเราให้เข้าใจคำสอนของธรรมประเพณีที่มีชีวิตชีวาในพระศาสนจักร จะเห็นได้ว่าธรรมล้ำลึกต่าง ๆ เช่น เรื่องการเนรมิตสร้าง การกอบกู้ การคืนชีพหลังความตาย รวมเป็นหนึ่งเดียวกันอย่างงดงาม และรับแสงสว่างจากพระวาจาของพระเจ้าอยู่เสมอ พระคุณแห่งสติปัญญานี้เอง ปลุกความเชื่อในใจ ของเรา ทำให้เราทราบว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเจ้า. "หากพระจิตเจ้ามิได้ทรงดลใจก็ไม่มีผู้ใดสามารถกล่าวได้ว่า พระเยซูคือองค์พระผู้เป็นเจ้า"
3.ความคิดอ่าน (1คร.12:3) (พระคุณของพระจิต)
คือพระคุณที่ทำให้เราตัดสินใจปฏิบัติตามแผนการของพระเจ้าคือช่วยเราให้ค้นพบหนทางชีวิตที่ถูกต้อง ให้รู้ว่าพระองค์ทรงต้องการอะไรจากเรา เพราะพระเจ้าทรงมีแผนการสำหรับมนุษย์แต่ละคน การค้นพบแผนการนี้เป็นเงื่อนไข เพื่อจะประสบความสำเร็จในชีวิต ความคิดอ่านช่วยเราให้แยกแยะ สิ่งที่ถาวรจากสิ่งที่ชั่วคราว ช่วยเราให้รอบคอบในการเลือกวิถีชีวิตโดยไม่ผิดพลาด เช่น จะตัดสินใจแต่งงาน บวช หรือดำเนินชีวิตโสด ฯลฯ
พระพรนี้ยังช่วยเราให้เคารพอิสรภาพของผู้อื่นในการเลือกหนทางชีวิตขณะที่ช่วยเขาให้เลือกดำเนินชีวิตตามพระประส่งค์ของพระเจ้าในทุกกรณี ที่จริงมนุษย์มีความสามารถมากมาย แต่เราใช้สมรรถภาพนั้นน้อยเกินไป เพราะขาดการตัดสินใจแน่วแน่ เช่น เด็กอายุ 3 ขวบที่อยู่กับคน 10 คนในครอบครัว แต่ละคนพูดภาษาคนละภาษากับเด็ก เด็กคนนี้สามารถโต้ตอบกับทุกคนในภาษาต่าง ๆได้
นักจิตวิทยามีความเห็นพ้องต้องกันว่า มนุษย์เราพัฒนาความทรงจำความสามารถที่จะรัก และความสามารถที่จะสนใจในเรื่องอื่นๆ น้อยเหลือเกิน พระพรแห่งความคิดอ่านช่วยเรามิให้ละทิ้งสมรรถภาพนี้ไว้ให้เปล่าประโยชน์
4.พละกำลัง (พระคุณของพระจิต)
คือพระคุณที่ช่วยเราให้มีความกล้าหาญ ความมั่นคง และความ ซื่อสัตย์ในความเชื่อ สามารถต่อสู้กับศัตรูฝ่ายวิญญาณได้ หนังสือกิจการอัครสาวกแสดงชัดว่าเมื่อบรรดาอัครสาวกได้รับพระจิตเจ้าแล้วในวันเปนเตกอสเต ก็ได้รับพระจิตเจ้าแล้วในวันเปนเตกอสเต ก็ได้รับพละกำลังที่จะประกาศพระคริสตเจ้าอย่างกล้าหาญ และได้ดำเนินชีวิตเป็นศิษย์ของพระเยซูเจ้าอย่างเปิดเผย หากมนุษย์ไม่มีความกล้าหาญหรือพลังภายในเช่นนี้เขาจะไม่กล้าประพฤติผิดแผกจากคนทั่ว ๆ ไป เขาจะเป็นคนขี้ขลาด ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นหรือช่วยคนอื่น เขาจะปรานีประนอมในทุกกรณี แตร์ตูเลียน ปิตาจารย์ในศตวรรษที่สาม เคยเปรียบเทียบพระจิตเจ้ากับโค้ชของนักกีฬาว่า โค้ชจะสอนนักกีฬาของตนว่า เขาจะต้องรู้จักออกแรงจนเหน็ดเหนื่อย เขาจะไม่สามารถได้เหรียญทองหากไม่มีเหงื่อออก ถ้าเขามุ่งมั่นเขาจะไม่รู้สึกเบื่อหน่ายจำเจในการฝึกฝน
ฉะนั้น พระคุณแห่งพละกำลังที่เรารับจากพระจิตเจ้าช่วยเราให้ปฏิบัติตามข้อความบนป้ายที่ติดไว้บนฝาผนังในบ้านของคุณแม่เทเรซาแห่งกัลกัตตาที่ว่า "มนุษย์นั้นบ่อยครั้งทำอะไรไม่มีเหตุผล เห็นแก่ตัวช่างมัน…จงรักเขาเถิด ถ้าท่านทำความดีผู้อื่นอาจคิดว่า ท่านหวังจะได้ประโยชน์ช่างมัน…จงทำความดีเถิด ถ้าท่านประสบความสำเร็จ ท่านจะพบว่ามีทั้งมิตร เทียมและศัตรูแท้ ช่างมัน…พยายามทำให้สำเร็จ ความดีที่ท่านทำวันนี้พรุ่งนี้ก็จะถูกลืม ช่างมัน…จงทำความดีเถิด ความสุจริตและจริงใจจะทำให้ท่านถูกเอาเปรียบ ช่างมันจงเป็นผู้สุจริตและจริงใจเถิด สิ่งที่ท่านได้สร้างขึ้นเป็นเวลานานอาจจะถูกทำลายในพริบตา ช่างมัน…จงสร้างขึ้นเถิด ถ้าท่านช่วยคนอื่น เขาอาจจะไม่พอใจท่าน ช่างมัน…จงช่วยเขาเถิด ถ้าท่านทุ่มเทตนเองอย่างดีที่สุดแก่ผู้อื่นเขาอาจจะเตะท่านทิ้ง ช่างมัน…จงทุ่มเทตัวเองอย่างดีที่สุดเถิด"
5.ความรู้ (พระคุณของพระจิต)
คือพระคุณที่ช่วยเราให้รู้จักพระเจ้าและทุกสิ่งที่เกี่ยวกับพระองค์ ความรู้นี้เป็นโลกทัศน์ที่มาจากการพบปะกับพระเจ้าผู้ทรงเปลี่ยนแปลงใจและชีวิตของมนุษย์ อาศัยพระพรนี้นักเทววิทยาสามารถอธิบายความจริงที่เราเชื่ออย่างเป็นระบบ และสามารถเข้าใจเครื่องหมายของกาลเวลา ที่แสดงพระประสงค์ของพระเจ้าให้แก่เรา ในทุกวันนี้ เป็นพระพรซึ่งผู้สอนคำสอนต้องรับเพื่อจะเป็นอาจารย์แห่งความเชื่อให้แก่ผู้อื่น พระพรนี้ทำให้เรารักพระเจ้าและทุกสิ่งมากยิ่งขึ้น
คอสตอเยสกี นักเขียนเรืองนามชาวรัสเซียคนหนึ่งคงจะได้รับพระคุณนี้เมื่อได้เตือนผู้อ่านว่า "พี่น้องทั้งหลาย จงรักสิ่งที่พระเจ้าทรงสร้างทั้งมวล ทั้งส่วนรามและทีละสิ่ง เหมือนเม็ดทรายทีละเม็ดจงรักใบไม้แต่ละใบ จงรักแสงแดด ต้นไม้ สัตว์ และทุกสิ่ง โดยเฉพาะจงรักเด็ก เพราะเขามีชีวิตเพื่อชำระจิตใจของท่าน และทำให้ท่านรู้สึกอ่อนโยน"
6.ความศรัทธา (พระคุณของพระจิต)
คือพระคุณที่ทำให้จิตใจของเรายอมนมัสการพระเจ้า แสดง คารวะกิจพิเศษต่อพระองค์ ยอมรับว่าพระองค์ทรงเป็นพระบิดา ทรงเป็นจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย ของพระพรทุกอย่าง ความศรัทธา คือความรู้สึกอ่อนโยนต่อพระเจ้า รักพระองค์เหนือสิ่งอื่นใด และปรารถนาที่จะถวายเกียรติแด่พระองค์ในทุกสิ่งที่เรากระทำ พระเมตตาที่พระองค์ทรงมีต่อเราใหญ่ยิ่ง ทรงมีพระประสงค์ให้เราตอบสนองความรักต่อพระองค์ ผู้มีความศรัทธาไม่เพียงแต่แสวงหาความบรรเทาใจจากพระเจ้า ยังปรารถนาที่จะร่วมสุขร่วมทุกข์กับพระองค์อีกด้วย
ความศรัทธาช่วยเราให้ทนความทุกข์ยากลำบากเช่นเมื่อบีโทเฟน นักดนตรีผู้ยิ่งใหญ่มีอายุ 46 ปี เกิดหูหนวกสนิท เขารู้สึกสิ้นหวัง แต่อาศัยความศรัทธาที่เขายังมีต่อพระเจ้า เขายังพบพละกำลังที่จะเอาชนะความผิดหวังได้ เขาเขียนดนตรีอมตะชิ้นหนึ่งที่เรียกว่ามิสซาสง่า โดยใช้เวลาสองปีในการเขียนงานชิ้นนี้ หลังโน้ตตัวสุดท้ายเขาเขียนว่า "พระเจ้าทรงเป็นป้อมปราการอันมั่นคงของข้าพเจ้า"
เมื่อเราเชื่อมั่นว่าพระเจ้าทรงเป็นพระบิดาของเรา เราไว้วางใจพระองค์เหมือนกับลูกรู้สึกปลอดภัยเมื่ออยู่ในอ้อมแขนของพ่อของตน ดังการ์โล คาเรตโต เขียนไว้ว่า "ถ้าพระเจ้าเป็นพระบิดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็มีคุณค่าและมีศักดิ์ศรีที่แท้จริงในพระองค์ ถ้าพระเจ้าทรงเป็นพระบิดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่ถามพระองค์ว่า ทำไม…? ทำไม…? แต่จะบอกเพียงว่า พระองค์ทรงทราบ ถ้าพระเจ้าทรงเป็นพระบิดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่คิดว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตเกิดขึ้นโดยบังเอิญ แต่เป็นเครื่องหมายแสดงความรักของพระองค์ ถ้าพระเจ้าทรงเป็นพระบิดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่หมดความเชื่อ เมื่อเผชิญหน้ากับ ภัยธรรมชาติ คือ เมื่อไม่สามารถเห็นความสัมพันธ์ระหว่างความรักของพระเจ้า และความทุกข์ยากลำบากที่ข้าพเจ้ากำลังประสบอยู่ พระเจ้าทรงเป็นเจ้านายของจักรวาล แม้แผ่นดินสะเทือนและแม่น้ำจะไหลท่วม พระองค์ทรงเป็นพระบิดา แม้ความหนาวจะทำให้มือแข็งหรือหรืออุบัติเหตุจะทำให้พิการตลอดชีวิต" นี่คือตัวอย่างของพลังอำนาจของพระคุณความศรัทธา
7. ความยำเกรง (พระคุณของพระจิต)
พระคุณที่ช่วยให้เรามีจิตสำนึกในความยิ่งใหญ่และศักดิ์ศรี สูงส่งของพระเจ้า พระเจ้าทรงพระทัยดี และทรงเป็นพระบิดา ทั้งยังทรงพละกำลัง ทรงพลานุภาพ เราจึงต้องเคารพและนอบน้อม เชื่อฟังพระองค์ ดำเนินชีวิตเฉพาะพระพักตร์พระองค์ สลวนที่จะทำให้พระองค์พอพระทัยมากกว่าทำให้มนุษย์พอใจ นักบุญเปาโลเตือนเราว่า "อย่าหลอกลวงตนเอง เราจะเยาะเย้ยพระเจ้าไม่ได้" (กท. 6:7)
ผู้ที่ไม่เคารพพระเจ้าก็จะไม่เคารพมนุษย์อีกด้วย ดังที่ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ได้พิสูจน์แล้ว ความยำเกรงพระเจ้า ยังสอนเราว่า เราไม่สามารถทำตามใจชอบ เราไม่ใช่เจ้าของความดีและความชั่ว เราไม่สามารถทำให้ความอธรรมกลับเป็นความชอบธรรม ทำให้สิ่งที่ผิดกลับเป็นสิ่งที่ถูก ทุกครั้งที่เราไม่เคารพสิ่งที่มีค่าในชีวิต ก็เท่ากับว่าเราไม่เคารพพระเจ้าผู้ทรงเป็นต้นกำเนิดของคุณค่าเหล่านั้น
ความยำเกรงพระเจ้าทำให้เรารู้ว่า พระเจ้าทรงเป็นผู้พิพากษาทุกสิ่งทุกอย่าง พระองค์ไม่ทรงใช้มาตราการของมนุษย์ที่มักจะตัดสินว่า ผู้มีอำนาจและผู้ประสบความสำเร็จเท่านั้นมีคุณค่า แต่พระองค์ทรงรักเราอย่างที่เราเป็น และทรงช่วยเราให้พ้นจากสิ่งที่จะทำลายเรา เพื่อจะได้สิ่งที่ดีจริง สำหรับเรา ความยำเกรงพระเจ้าจึงเป็นความรักเยี่ยงลูก ซึ่งเกรงจะทำเคืองพระทัยพระบิดา
ปฏิทินเดือนเมษายน ปี 2016
ปฏิทินเดือนพฤษภาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
|
1 อาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันแรงงานแห่งชาติ ) |
2 ระลึกถึงน.อาทานาส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
3 ฉลองน.ฟิลิป และ น.ยากอบ อัครสาวก |
4 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
5 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันฉัตรมงคล ) |
6 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
7 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
8 สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ |
9 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
10 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
11 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
12น.เนเรโอ อาคิลเลโอ และ เพื่อนมรณสักขี น.ปันกราส มรณสักขี |
13 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งฟาติมา |
14 ฉลอง น.มัทธีอัส อัครสาวก |
15 สมโภชพระจิตเจ้า |
16 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
18 น.ยอห์นที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี |
19 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
20 น.เบอร์นาดิน แห่งซีเอนา พระสงฆ์ ( วันวิสาขบูชา ) |
21 น. คริสโตเฟอร์ มักอัลลาเนส และเพื่อนมรณสักขี |
22 สมโภชพระตรีเอกภาพ |
23 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
24 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
25 น.เกรโกรี่ที่ 7 พระสันตะปาปา น.เบดา พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร น.มารีย์ มักดาเลนา เด ปัสซี พรหมจารี |
26 ระลึกถึง น.ฟิลิป เนรี พระสงฆ์ |
27 น.ออกัสติน แห่งแคนเตอร์เบอรี พระสังฆราช |
28 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
29 สมโ๓ชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า |
30 สัปดาห์ที่ 9 เทศกาลธรรมดา |
31 ฉลองพระนางมารีย์เสด็จเยี่ยมเยียน ( วันงดสูบบุหรี่โลก ) |
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนมิถุนายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
1 ระลึกถึงน.ยุสติน มรณสักขี |
2 น.มาร์แชลลิน และ น.เปโตร มรณสักขี |
3 สมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
4 ระลึกถึงดวงหทัยของพระแม่มารีย์ |
5 อาทิตย์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา ( วันสิ่งแวดล้อมโลก ) |
6 น.นอร์เบิร์ต พระสังฆราช |
7 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
9 น.เอเฟรม สังฆานุกรและ นักปราชญ์ |
10 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึกถึง น.บาร์นาบัส อัครสาวก |
12 อาทิตย์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
13 ระลึกถึง น.อันตนแห่งปาดัว พระสงฆ์และนักปราชญ์ |
14 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
16 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
19 อาทิตย์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
20 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาล |
21 ระลึกถึงน.หลุยส์ คอนซากา นักบวช |
22 น.เปาลิน แห่งโนลา พระสังฆราช น.ยอห์น พิชเชอร์ และ โทมัส โมร์ มรณสักขี |
23 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
24 สมโภช น.ยอห์น แบปติสต์ บังเกิด |
25 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
26 อาทิตย์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันต่อต้านยาเสพติด ) |
27 น.ซีริล แห่งอเล็กซันเดรีย พระสังฆราชและนักปราชญ์พระศาสนจักร |
28 ระลึกถึง น.อีเรเนโอ พระสังฆราชและมรณสักขึ |
29 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันสมโภช น.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก ) เลื่อนไปสมโภช วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม |
30 น.ปฐมมรณสักขี แห่งพระศาสนจักรกรุงโรม |
|
|
|
ปฏิทินเดือนกรกฎาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
2 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา |
3 สมโภชน.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
4 น.เอลีซาเบธ ราชินีแห่งโปรตุเกส |
5 น.อันตน มารีย์ ซักกาเรีย พระสงฆ์ |
6 น.มารีย์กอแรตตี พรหมจารี และ มรณสักขี |
7 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
9 น.ออกัสติน เซา รง และเพื่อนมรณสักขีชาวจีน |
10 อาทิตย์ที่ 15 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึก น.เบเนดิกต์ เจ้าอธิการ ( วันประชากรโลก ) |
12 สัปดาห์ที่ 156 เทศกาลธรรมดา |
13 น.เฮนรี่ |
14 น.คามิลโล เด เลลลิส พระสงฆ์ |
15 ระลึกถึง น.บอนาแวนตูรา พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งภูเขาคาร์แมล |
17 อาทิตย์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
19 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
20 น.อโพลินาริส พระสังฆราช และ มรณสักขี ( วันเข้าพรรษา ) |
21 น.ลอเรนซ์ แห่งบรินดิซี พระสงฆ์และ นักปราชญ์ |
22 ระลึกถึง น.มารีย์ ชาวมักดาลา |
23 น.บรียิต นักบวช |
24 อาทิตย์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
25 ฉลอง น.ยากอบ อัครสาวก |
26 ระลึกถึง น.โยอากิม และ อันนา ( บิดามารดาของพระนางมารีย์พรหมจารี ) |
27 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
28 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึง น.มาร์ธา |
30 น.เปโตร คริโลโลโก พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
31 อาทิตย์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
ปฏิทินกิจกรรมเดือนสิงหาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 ระลึกถึง น.อัลฟองโซ มารีย์ เด ลิกวอรี พระสฆังชราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 น.เอวเซบิโอ แห่งแวร์แชลลี พระสังฆราช น.เปโตร ยูเลียน ไรม์ต พระสงฆ์ |
3 สัปดาห์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ยอห์น มารีย์ เวียนเนย์ พระสงฆ์ |
5 วันถวายพระวิหารแม่พระแห่งหิมะ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ฉลพงพระเยซูเจ้าทรงประจักษ์พระวรกาย ต่อหน้าอัครสาวก |
7 อาทิตย์ที่ 19 เทศกาลธรรมดา ( วันสื่อมวลชนสากล ) |
8 ระลึกถึง น.โดมินิก พระสงฆ์ |
9 น.เทเรซา เบเนติกตาแห่งไม้กางเขน พรหมจารีและมรณสักขี |
10 ฉลองน.ลอเรนซ์ สังฆานุกรและ มรณสักขี |
11 ระลึกถึง น.กลารา พรหมจารี |
12 น.ฌาน ฟรังซังส์ เดอ ซังตาล นักบวช |
13 น.ปอนซีอาโน พระสันตะปาปาป และ น.ฮิปโปลิต พระสงฆ์ และ มรณสักขี |
14 อาทิตย์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา ( สมโภชพระนางมารีย์รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ เลื่อนไปสมโภชวันที่ 21 สิงหาคม ) |
16 น.สเตเฟนแห่งประเทศ ฮังการี |
17 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยอห์น เอิ๊ด พระสงฆ์ |
20 ระลึกถึง น.เบอร์นาร์ต เจ้าอธิการและ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
21 สมโภชพระนางมารีย์รับเกียติเข้าสู่สวรรค์ ทั้งกายและวิญญาณ |
22 ระลึกถึง พระนามารีย์ราชินีแห่งสากลโลก |
23 น.โรซา ชาวลีมา พรหมจารี |
24 ฉลอง น.บาร์โธโลมิว |
25 น.หลุยส์ กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส น.โยเซฟ กาลาซานส์ พระสงฆ์ |
26 สัปดาห์ที่ 21 เทศกาลธรรมดา |
27 ระลึกถึง น.โมนิกา |
28 อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึงน.ยอห์น แบปติสต์ ถูกตัดศีรษะ |
30 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนกันยายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
2 สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ระลึก น.เกรโกรี พระสันตะปาปา และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
4 อาทิตย์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
5 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
6 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
7 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
8 ฉลองแม่พระบังเกิด |
9 น.เปโตร คลาแวร์ พระสงฆ์ |
10 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
11 อาทิตย์ที่ 24 เทศกาลธรรมดา |
12 พระนามศักดิ์สิทธิ์ของพระนางมารีย์พรหมจารี |
13 ระลึกถึง น.ยอห์น ครีโซสตม พระสังฆราชและ นักปราชญ์ |
14 ฉลองเทิดทูนไม้กางเขน |
15 ระลึกถึงแม่่พระมหาทุกข์ |
16 ระลึกถึงน.คอร์เนเลียส พระสันตะปาปาและ น.ซีเปรียน พระสังฆราชและมรณสักขี |
17น.โรเบิร์ต แบลลาร์มีโน พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
18 อาทิตย์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยานูอารีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี |
20 ระลึกถึง น.อันดรูว์ กิม เตก็อน พระสงฆ์ เปาโล จง ฮาซัง และเพื่อนมรณสักขีขาวเกาหลี ( วันเยาวชนแห่งชาติ ) |
21 ฉลอง น.มัทธิว อัครสาวกและ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
22 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
23 ระลึกถึง น.ปีโอแห่งปีเอเตรลชีนา พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
25 อาทิตย์ที่ 26 เทศกาลธรรมดา |
26 น.คอสมา และ น.ดาเมียน มรณสักขี |
27 ระลึกถึง น.วินเซนเดอปอล พระสงฆ์ |
28 น.แวนเชสเลาส์ มรณสักขี น.ลอเรนซ์ รุยส์ และเพื่อนมรณสักขี |
29 ฉลองอัครทูตสวรรค์ มีคาแอล คาเบรียล และ ราฟาแอล |
30 ระลึกถึง น.เยโรม พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
|
|
ปฏิทินเดือนตุลาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
1 ฉลองน.เทเรซาแห่งพระกุมารเยซู พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 อาทิตย์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
3 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ฟรังซิส แห่งอัสซีซี |
5 ระลึกถึง น.โฟสตีนา โควัลสกา |
6 น.บรูโน พระสงฆ์ |
7 ระลึกถึง แม่พระลูกประคำ (วันศุกร์ต้นเดือน ) |
8 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
9 อาทิตย์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
10 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
11 น.ยอห์นที่ 23 พระสันตะปาปา |
12 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
13 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
14 น.กัลลิสตัส ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี |
15 ระลึกถึง น.เทเรซาแห่งอาวีลา พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 อาทิตย์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา ( วันแพร่ธรรมสากล วันออกพรรษา ) |
17 ระลึกถึง น.อิกญาซีโอ ชาวอันติโอก พระสังฆราช และ มรณสักขี |
18 ฉลอง น.ลูกา ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
19 น.เปาโลแห่งไม้กางเขน พระสงฆ น.ยอห์น แห่ง เบรเบิฟ น.อิสอัค โยเกอ พระสงฆ์และ เพื่อนมรณสักขี |
20 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
21 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
22 น.ยอห์น ปอลที่ 2 พระสันตะปาปา |
23 อาทิตย์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา ( วันปิยมหาราช ) |
24 น.อันตน มารีย์ คลาเรต์ พระสังฆราช |
25 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
26 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
27 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
28 ฉลองน.ซีโมน และ น.ยูดาห์ อัครสาวก |
29 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
30 อาทิตย์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนพฤศจิกายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
1 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
2วันภาวนาอุทิศแด่ผู้ล่วงลับ |
3 น.มาร์ติน เด ปอเรส นักบวช |
4 ระลึกถึง น.ชาร์ส์ โบโรเมโอ พระสังฆราช ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
5 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
6 สมโภชนักบุญทั้งหลาย |
7 สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
8สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
9 ฉลองวันครบรอบการถวายพระวิหารลาเตรัน |
10 ระลึกถึงน.เลโอ พระสันตะปาปา และ นักปราชญืแห่งพระศาสนจักร |
11 ระลึกถึง น.มาร์ติน แห่งตูร์ พระสังฆราช |
12 ระลึกถึง น.โยซาฟัต พระสังฆราชและมรณสักขี |
13 อาทิตย์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา ( วันสิทธิมนุษยชน ) |
14 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
15 น.อัลเบิร์ต ผู้ยิ่งใหญ่ พระสังฆราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 น.มาร์กาเร็ต แห่งสก็อตแลนด์ น.เยอร์ทรู๊ด พรหมจารี |
17 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
18 วันครบรอบการถวายพระวิหาร นักบุญเปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
19 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
20 สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล ( วันกระแสเรียก ) |
21 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
22 ระลึกถึงน.เซซีลีอา พรหมจารีและมรณสักขี |
23 น.เคลเมนต์ ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี น.โคลัมบัน เจ้าอธิการ |
24 ระลึกถึง น.อันดรูว์ ดุง-ลัก พระสงฆ์และเพื่อนมรณสักขี |
25 น.กาทารีนา แห่ง อเล็กซานเดรีย พรหมจารีและมรณสักขี |
26 สัปดาห์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา |
27 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( เริ่มต้นปีพิธีกรรม ปี A ) |
28 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
29 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
30 ฉลอง น.อันดรูว์ อัครสาวก |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนธันวาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันรณรงค์โรคเอดส์ ) |
2 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ฉลองน.ฟรังซิสเซเวียร์ พระสงฆ์ องค์อุปถัมภ์มิสซัง |
4 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ ( พระคัมภีร์ ) |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ) |
6 น.นิโคลัส พระสังฆราช |
7 ระลึกถึง น.อัมโบรส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
8 สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล |
9 น.ฮวน ดีเอโก |
10 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ( วันรัฐธรรมนูญ ) |
11 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
12 พระนางมารีย์พรหมจารี แห่งกวาดาลูเป |
13 ระลึกถึง น.ลูเซีย พรหมจารี และ มรณสักขี |
14 ระลึกถึง น.ยอห์นแห่งไม้กางเขน นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
16 ระลึกถึง บุญราศีทั้งเจ็ดแห่งสองคอน ( วันครูคำสอนไทย ) |
17 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
18 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
19 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
20 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
21 น.เ)ตร คานีซีอัส พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่ง |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
23 น.ยอห์น แห่งเกตี้ พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
25 สมโภชพระคริสตสมภพ |
26 ฉลองน.สเทเฟน ปฐมมรณสักขี |
27 ฉลอง น.ยอห์น อัครสาวก ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
28 ฉลองนักบุญทารกผู้วิมล |
29 น.โทมัส เบ็กเก็ต พระสังฆราช และมรณสักขี |
30 ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า |
31 น.ซิลเวสเตอร์ที่ 1 พระสันตะปาปา ( วันเริ่มต้นเทศกาลปีใหม่ ) |
|
ปฏิทินเดือนมกราคม ปี 2017
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
2 ฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร ( เสกและแห่เทียน ) |
3 น.บลาซีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี น.อันสการ์ พระสังฆราช |
4 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
5 ระลึกถึง น.อากาทา พรหมจารีและมรณสักขี ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ระลึกถึง น.เปาโล มีกิ พระสงฆ์และเพือนมรณสักขี |
7 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
8 น.เยโรม เอมีลานี พระสงฆ์ น.โยเซผิน บาคีตา พรหมจารี |
9 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
10 วันพุธรับเถ้า ( เริ่มเทศกาลมหาพรต ถือศีลอดอาหาร และ อดเนื้อ ) |
11 แม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด ( วันผู้ป่วยโลก ) |
12 หลังวันพุธรับเถ้า |
13 หลังวันพุธรับเถ้า |
14 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
15 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
16 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
17 นักบุญเจ็ดองค์ผู้ตั้งคณะผู้รับใช้พระแม่มารีย์ |
18 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
19 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
20 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
21 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
22 ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตร อัครสาวก ( วันมาฆบูชา ) |
23 ระลึกถึง น.โปลีการ์ป พระสังฆราชและมรณสักขี |
24 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
25 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
26 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
27 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
28 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
29 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
|
|
|
|
|
|