Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 อัฐวารปัสกา |
2 อัฐวารปัสกา วันศุกร์ต้นเดือน |
3 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลปัสกา ฉลองพระเมตตา |
4 สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวาจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
6 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา วันจักรี |
7 ระลึกถึง น.ยหอ์น บัปติสต์ เดอลาซาล พระสงฆ์ |
8 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
9 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
10 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
11 น.สตานิเลาส์ พระสังฆราชและมรณสักขี |
12 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
13 ระลึกถึง น.มาร์ตินที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี (วันสงกรานต์ ) |
14 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
16 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
17 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลปัสกา ( วันภาวนาเพื่อกระแสเรียก วันรณรงค์เพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ ) |
18 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
19 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
20 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
21 น.อันเซลม์ พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา |
23น.ยอร์จ มรณสักขี |
24 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
25 ฉลองน.มาระโฏ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
26 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
27 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
28 น.เปโตร ชาเนล พระสงฆ์และมรณสักขี น.หลุยส์มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ต พระสงฆ์ |
29 ระลึกถึง น.กาธารีนาแห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
30 น.ปีโอ ที่ 5 พระสันตะปาปา |
|
อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา
- รายละเอียด
- หมวด: อธิบายพระวรสารปี B
- เขียนโดย แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
- ฮิต: 2095
อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา
ข่าวดี มาระโก 1:21-28
พระเยซูเจ้าทรงเทศน์สอนที่เมืองคาเปอรนาอุม ทรงรักษาคนถูกปีศาจสิง
(21)พระเยซูเจ้าเสด็จมาถึงเมืองคาเปอรนาอุมพร้อมกับบรรดาศิษย์ เมื่อถึงวันสับบาโต พระองค์เสด็จเข้าไปในศาลาธรรม และทรงเริ่มสั่งสอน (22)คำสั่งสอนของพระองค์ทำให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจอย่างมาก เพราะทรงสอนเขาอย่างทรงอำนาจไม่เหมือนกับบรรดาธรรมาจารย์ (23)ขณะนั้น ในศาลาธรรมชายคนหนึ่งซึ่งปีศาจสิงอยู่ร้องตะโกนว่า (24) “ท่านมายุ่งกับเราทำไม เยซู ชาวนาซาเร็ธ ท่านมาทำลายเราใช่ไหม เรารู้ว่าท่านเป็นใคร ท่านคือองค์ผู้ศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้า” (25)พระเยซูเจ้าทรงดุปีศาจและตรัสสั่งว่า “จงเงียบ ออกไปจากผู้นี้” (26)เมื่อปีศาจทำให้ชายผู้นั้นชักและร้องเสียงดังแล้ว มันก็ออกไปจากเขา (27)ทุกคนต่างประหลาดใจจึงถามกันว่า “นี่มันเรื่องอะไร เป็นคำสั่งสอนแบบใหม่ที่มีอำนาจ เขาสั่งแม้กระทั่งปีศาจและมันก็เชื่อฟัง” (28)แล้วกิตติศัพท์ของพระองค์ก็เลื่องลือไปทุกแห่งตลอดทั่วแคว้นกาลิลีทันที
เมื่อทรงคัดเลือกศิษย์กลุ่มแรกแล้ว พระเยซูเจ้าทรงเริ่มสั่งสอนในศาลาธรรม
“ศาลาธรรม” เป็นศูนย์กลางชีวิตทางศาสนาของชาวยิว จนกฎหมายต้องกำหนดให้มีศาลาธรรมทุกแห่งที่มีชาวยิวเกิน 10 ครัวเรือนขึ้นไป กิจกรรมหลักในศาลาธรรมประกอบด้วย 3 สิ่งคือ การสวดภาวนา การอ่าน และการอธิบายพระคัมภีร์ ส่วนการถวายเครื่องบูชาต้องกระทำที่พระวิหารซึ่งมีอยู่เพียงแห่งเดียวในกรุงเยรูซาเล็ม
หัวหน้าศาลาธรรมเป็นผู้รับผิดชอบดูแลและจัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ภายในศาลาธรรม มีอาสาสมัครจำนวนหนึ่งทำหน้าที่แจกจ่ายทานที่ได้รับบริจาคทั้งที่เป็นเงินหรือเป็นสิ่งของแก่คนยากจน โดยผู้ที่ยากจนที่สุดจะได้รับแจกอาหาร 14 มื้อต่อสัปดาห์ นอกจากนี้ยังมีเจ้าหน้าที่ประจำอีกผู้หนึ่งเรียกว่า Chazzan (ชัซซาน) มีหน้าที่ดูแลม้วนพระคัมภีร์ ทำความสะอาดศาลาธรรม เป่าแตรเดี่ยวเพื่อเตือนประชาชนว่าวันสับบาโตกำลังมาถึง และสอนเด็กเล็ก
สิ่งหนึ่งที่ศาลาธรรมไม่มีคือนักเทศน์สอนประจำ จึงเป็นหน้าที่ของหัวหน้าศาลาธรรมที่จะเชิญผู้มีความสามารถหรือมีชื่อเสียงที่ปรากฏตัวอยู่ในศาลาธรรมให้ขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ หรืออธิบายพระคัมภีร์แก่ประชาชน
นี่คือโอกาสและเหตุผลอันดีที่พระเยซูเจ้าทรงเลือก “ศาลาธรรม” ให้เป็น “ธรรมาสน์” สำหรับเทศน์สอนข่าวดีและเรียกร้องมนุษย์ให้กลับมาหาพระเจ้า
“คำสั่งสอนของพระองค์ทำให้ผู้ฟังรู้สึกประทับใจอย่างมาก เพราะทรงสอนเขาอย่างทรงอำนาจไม่เหมือนกับบรรดาธรรมาจารย์” (ข้อ 22)
“ธรรมาจารย์” คือผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมบัญญัติ
สำหรับชาวยิว สิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในโลกคือธรรมบัญญัติ หรือที่ภาษาฮีบรูเรียกว่า Torah (โตราห์) ซึ่งได้แก่หนังสือพระธรรมเก่าห้าเล่มแรก (ปัญจบรรพ) โดยมีแก่นสำคัญอยู่ที่บัญญัติสิบประการ
ที่ว่าศักดิ์สิทธิ์เพราะเป็นพระเจ้าเองที่ทรงประทานให้แก่มนุษย์โดยผ่านทางโมเสส
เนื่องจากเป็นของพระเจ้า ธรรมบัญญัติจึงเป็นหลักแห่งความเชื่อที่สำคัญที่สุด และต้องประกอบด้วยหลักการสำหรับนำทางชีวิตมนุษย์ทั้งครบจนตลอดชีวิต ถ้าหากหลักการใดไม่ได้ระบุไว้อย่างแจ้งชัดก็แปลว่าต้องแฝงอยู่ในหลักการอื่น ๆ
หน้าที่ประการแรกของธรรมาจารย์จึงได้แก่การคิดค้นระเบียบและกฎเกณฑ์ที่แฝงเร้นอยู่ในธรรมบัญญัติให้ปรากฏชัดแจ้ง เพื่อจะได้ใช้บังคับกับทุกสถานการณ์ในชีวิตมนุษย์ พวกเขาทำให้ศาสนายิวซึ่งเริ่มต้นด้วยหลักศีลธรรมกว้าง ๆ อันยิ่งใหญ่ แต่จบลงด้วยระเบียบและกฎเกณฑ์อันไม่มีสิ้นสุด
หน้าที่ประการที่สองของธรรมาจารย์คือการสอนและถ่ายทอดระเบียบกฎเกณฑ์ที่เรียกกันว่า “ธรรมประเพณี” ซึ่งยังไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเหล่านี้จากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งด้วยการท่องจำ จวบจนถึงประมาณกลางศตวรรษที่สองจึงมีการบันทึก “ธรรมประเพณี” เหล่านี้เป็นลายลักษณ์อักษรในหนังสือที่เรียกว่า Mishnah
หน้าที่ประการสุดท้ายของธรรมาจารย์คือ การตัดสินกรณีต่าง ๆ
วิธีการของพวกธรรมาจารย์คืออ้างคำสอนของธรรมาจารย์ที่มีชื่อเสียง ซึ่งเรียกกันว่า “รับบี” พวกเขามักเริ่มต้นด้วย “มีคำกล่าวไว้ว่า.....” แล้วตามด้วยการอ้างอิงชื่อของรับบีที่มีชื่อเสียงในอดีต ก่อนที่จะลงเอยด้วยคำตัดสินของตนเอง
แต่วิธีการของพระเยซูเจ้าแตกต่างจากพวกธรรมาจารย์โดยสิ้นเชิง !!!
พระองค์สอนโดยไม่ต้องอาศัยอำนาจของผู้อื่น พระองค์ไม่ต้องอ้างอิงรับบีหรือผู้เชี่ยวชาญคนใด คำสอนของพระองค์เป็นอิสระจากผู้อื่น
เพราะคำสอนของพระองค์คือพระสุรเสียงอันเบ็ดเสร็จเด็ดขาดขององค์พระผู้เป็นเจ้า !
ผู้ฟังของพระองค์ก็ตระหนักดีถึงอำนาจที่อยู่ภายในตัวพระองค์.....
นอกจากอำนาจที่แสดงออกโดยทางคำพูดแล้ว พระองค์ยังแสดงอำนาจของพระองค์โดยผ่านทางการกระทำอีกด้วย
พระองค์ทรงรักษาคนถูกปีศาจสิง
ทั้งชาวยิวและคนในสมัยโบราณล้วนเชื่อเรื่อง “ปีศาจสิง”
ในสุสานโบราณแห่งหนึ่ง มีการค้นพบกะโหลกมนุษย์ 120 กะโหลกด้วยกัน ในบรรดากะโหลกเหล่านี้มีถึง 6 กะโหลกที่พบว่ามีรูเล็ก ๆ เจาะอยู่ และจากการศึกษาการเจริญเติบโตของกระดูก เป็นที่แน่ชัดว่ารูเล็ก ๆ เหล่านี้ถูกเจาะขณะที่ยังมีชีวิตอยู่
แม้รูเหล่านี้จะเล็กจนไม่มีผลใด ๆ ตามมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบัน แต่ในสมัยโบราณถือว่าเป็นการผ่าตัดใหญ่ทั้งนี้เพื่อให้ “ปีศาจออกจากร่างกายมนุษย์”
หากมีผู้เตรียมการผ่าตัดใหญ่เช่นนี้ และมีผู้ที่พร้อมจะให้เจาะกะโหลกเช่นนี้ ย่อมแสดงว่าคนในสมัยก่อนเชื่อเรื่องปีศาจสิงมากสักเพียงใด !?
คำถามคือ “ปีศาจ” เหล่านี้มาจากไหน ?
บางคนเชื่อว่าปีศาจมีมาพร้อมกับการสร้างโลก บางคนเชื่อว่าปีศาจคือวิญญาณของคนชั่วที่แม้จะตายไปแล้ว แต่วิญญาณยังคงลอยนวลสืบสานผลงานอันชั่วร้ายต่อไป
แต่ชาวยิวส่วนใหญ่เชื่อว่าปีศาจคือลูกหลานของเทวดาชั่ว ดังที่ปรากฏในหนังสือปฐมกาลบทที่ 6 คือ “บุตรชายของพระเจ้าเห็นว่าบุตรหญิงของมนุษย์สวยงาม จึงแต่งงานกับทุกคนที่เขาเลือก....มนุษย์ยักษ์ได้ปรากฏบนแผ่นดินในสมัยนั้น และสมัยต่อมา เมื่อบุตรชายของพระเจ้ามีเพศสัมพันธ์กับบุตรหญิงของมนุษย์และมีบุตรด้วยกัน บุตรเหล่านี้เป็นวีรบุรุษในอดีตและเป็นคนที่มีชื่อเสียง” (ปฐก 6:1-4)
ชาวยิวได้แต่งเติมเรื่องดังกล่าวจนได้ความว่า “มีเทวดาสององค์ชื่อ Assael (อัสซาเอล) และ Shemachsai (เชมัคซัย) ได้ละทิ้งพระเจ้าแล้วหนีมาอยู่โลกมนุษย์ ทั้งสองหลงเสน่ห์ความงามของหญิงสาวผู้รู้ตาย แต่เทวดาองค์หนึ่งเปลี่ยนใจหันกลับไปหาพระเจ้า ส่วนอีกองค์หนึ่งคงอยู่ในโลกมนุษย์เพื่อสนองตัณหาของตนเอง”
“ปีศาจ” คือลูกหลานของเทวดาองค์นี้ !
ตามความเชื่อของชาวยิว ปีศาจคือสิ่งที่อยู่ตรงกลางระหว่างพระเจ้าและมนุษย์ จึงมีอำนาจเหนือมนุษย์ ปีศาจเพศชายเรียกว่า Shedim (เชดิม) เพศหญิงเรียกว่า Lilin (ลิลิน) ปีศาจสามารถกิน ดื่ม และมีลูกหลานได้ จนมีจำนวนมากมายเหลือคณานับ บางคนเชื่อว่ามีมากถึงเจ็ดล้านห้าแสนตน (ถือว่ามากมายมหาศาลสำหรับชาวยิว) ชอบอาศัยอยู่ตามหลุมศพ ที่เปลี่ยว หรือแหล่งที่ไม่มีน้ำสำหรับชำระล้าง ชอบทำร้ายผู้ที่เดินทางตามลำพัง หญิงที่กำลังตั้งครรภ์ เจ้าบ่าว เจ้าสาว เด็กที่ออกนอกบ้านเวลาค่ำมืด และทุกคนที่เดินทางเวลากลางคืน พวกมันสามารถถ่ายทอดสิ่งเลวร้ายมาสู่มนุษย์ได้ ไม่ว่าจะเป็นโรคภัยไข้เจ็บ โชคร้าย ฯลฯ
ปีศาจหญิงมักเป็นศัตรูกับเด็ก พวกเด็ก ๆ จึงต้องมีเทวดารักษาตัวทุกคน ดังที่พระเยซูเจ้าตรัสไว้ว่า “เราบอกท่านทั้งหลายว่า ตลอดเวลาในสวรรค์ ทูตสวรรค์ของเขา (เด็กเล็ก ๆ) เฝ้าชมพระพักตร์พระบิดาของเราผู้สถิตในสวรรค์” (มธ 18:10)
ทั้งหมดนี้ เราจะเชื่อหรือไม่ ไม่สำคัญ !?
ประเด็นสำคัญคือ ผู้คนในสมัยพระเยซูเจ้าเชื่ออย่างนี้ !!!
ซ้ำร้ายไปกว่านั้นคือ เมื่อใครก็ตามเชื่อว่าตัวเองถูกปีศาจสิง เขาจะตระหนักดีว่าตัวเองถูกปีศาจสิง และจะมั่นใจมากว่ามีบางสิ่งบางอย่างอยู่ในตัวเขาและคอยบังคับควบคุมเขา นี่คือเหตุผลที่อธิบายว่าทำไมคนที่ถูกปีศาจสิงจึงมักร้องเสียงดังเมื่อพบกับพระเยซูเจ้า “ท่านมายุ่งกับเราทำไม เยซู ชาวนาซาเร็ธ ท่านมาทำลายเราใช่ไหม เรารู้ว่าท่านเป็นใคร” (ข้อ 24)
เพราะพวกเขารู้ตัวเองดีว่าถูก “ปีศาจ” สิง และรู้ดีว่าพระองค์คือ “พระเมสสิยาห์” ซึ่งเมื่อเสด็จมาก็หมายถึงจุดจบของพวกเขา !
ความเชื่อเช่นนี้ได้สืบทอดมาสู่คริสตชน จนพระศาสนจักรได้กำหนดให้มี “พิธีไล่ผี” ตั้งแต่ปี ค.ศ. 340 เป็นต้นมา
แต่การ “ไล่ผี” ของพระเยซูเจ้าแตกต่างจากการไล่ผีของชาวยิวและคนต่างศาสนาโดยสิ้นเชิง !!
ชาวยิวและคนต่างศาสนาต้องมีพิธีกรรมที่ใช้เวทมนตร์และคาถามากมาย !!
แต่พระเยซูเจ้าใช้เพียงคำพูดที่สั้น เข้าใจง่าย และชัดเจน แต่ทว่าแฝงไว้ด้วยพลังอำนาจอย่างยิ่ง “จงเงียบ ออกไปจากผู้นี้” (ข้อ 25)
เกี่ยวกับการรักษาคนถูกปีศาจสิง เราอาจมีท่าทีได้ 2 ประการ คือ
1. ถือเสียว่าเป็นเรื่องของคนสมัยโบราณที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ยังไม่เจริญเหมือนในปัจจุบัน
2. ถือว่าเป็นเรื่องจริงทั้งในอดีต และในปัจจุบันก็ยังเกิดขึ้นจริง
หากยอมรับท่าทีแรก คือถือว่าเป็นเรื่องของคนโบราณ เราจำเป็นต้องอธิบายการกระทำของพระเยซูเจ้าที่พึ่งได้รับฟังในพระวรสารวันนี้
เป็นไปได้ว่าพระองค์รู้เรื่องการรักษาโรคเท่ากับคนในสมัยของพระองค์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ยอมรับได้ เพราะพระองค์ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์ และไม่ได้เสด็จมาเพื่อสอนวิทยาศาสตร์
หรือเป็นไปได้มากว่าพระองค์คือผู้ที่เข้าใจวิธีรักษาคนถูกปีศาจสิงได้ดีที่สุด นั่นคือ ต้องยอมรับว่าชายคนนั้นป่วยเพราะถูกปีศาจสิงเสียก่อน หาไม่แล้วพระองค์ไม่มีทางรักษาเขาให้หายได้เลย !
ทั้งหมดนี้แสดงถึง ความละเอียดอ่อนของพระเยซูเจ้า ทั้งในการเลือก “ศาลาธรรม” เป็นสถานที่สำหรับประกาศ “ข่าวดี” และในการรักษาคนถูกปีศาจสิงให้หายด้วยฤทธิ์อำนาจที่เข้าถึงจิตใจของผู้ป่วย
พระองค์ช่างสุดยอดจริง ๆ
แค่เริ่มต้นเทศน์สอน ปีศาจก็ปั่นป่วนและพ่ายแพ้อย่างราบคาบ
เราไม่หวังพึ่งพระองค์บ้างหรือ ?!?
ปฏิทินเดือนเมษายน ปี 2016
ปฏิทินเดือนพฤษภาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
|
1 อาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันแรงงานแห่งชาติ ) |
2 ระลึกถึงน.อาทานาส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
3 ฉลองน.ฟิลิป และ น.ยากอบ อัครสาวก |
4 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
5 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันฉัตรมงคล ) |
6 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
7 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
8 สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ |
9 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
10 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
11 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
12น.เนเรโอ อาคิลเลโอ และ เพื่อนมรณสักขี น.ปันกราส มรณสักขี |
13 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งฟาติมา |
14 ฉลอง น.มัทธีอัส อัครสาวก |
15 สมโภชพระจิตเจ้า |
16 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
18 น.ยอห์นที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี |
19 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
20 น.เบอร์นาดิน แห่งซีเอนา พระสงฆ์ ( วันวิสาขบูชา ) |
21 น. คริสโตเฟอร์ มักอัลลาเนส และเพื่อนมรณสักขี |
22 สมโภชพระตรีเอกภาพ |
23 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
24 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
25 น.เกรโกรี่ที่ 7 พระสันตะปาปา น.เบดา พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร น.มารีย์ มักดาเลนา เด ปัสซี พรหมจารี |
26 ระลึกถึง น.ฟิลิป เนรี พระสงฆ์ |
27 น.ออกัสติน แห่งแคนเตอร์เบอรี พระสังฆราช |
28 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
29 สมโ๓ชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า |
30 สัปดาห์ที่ 9 เทศกาลธรรมดา |
31 ฉลองพระนางมารีย์เสด็จเยี่ยมเยียน ( วันงดสูบบุหรี่โลก ) |
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนมิถุนายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
1 ระลึกถึงน.ยุสติน มรณสักขี |
2 น.มาร์แชลลิน และ น.เปโตร มรณสักขี |
3 สมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
4 ระลึกถึงดวงหทัยของพระแม่มารีย์ |
5 อาทิตย์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา ( วันสิ่งแวดล้อมโลก ) |
6 น.นอร์เบิร์ต พระสังฆราช |
7 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
9 น.เอเฟรม สังฆานุกรและ นักปราชญ์ |
10 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึกถึง น.บาร์นาบัส อัครสาวก |
12 อาทิตย์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
13 ระลึกถึง น.อันตนแห่งปาดัว พระสงฆ์และนักปราชญ์ |
14 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
16 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
19 อาทิตย์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
20 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาล |
21 ระลึกถึงน.หลุยส์ คอนซากา นักบวช |
22 น.เปาลิน แห่งโนลา พระสังฆราช น.ยอห์น พิชเชอร์ และ โทมัส โมร์ มรณสักขี |
23 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
24 สมโภช น.ยอห์น แบปติสต์ บังเกิด |
25 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
26 อาทิตย์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันต่อต้านยาเสพติด ) |
27 น.ซีริล แห่งอเล็กซันเดรีย พระสังฆราชและนักปราชญ์พระศาสนจักร |
28 ระลึกถึง น.อีเรเนโอ พระสังฆราชและมรณสักขึ |
29 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันสมโภช น.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก ) เลื่อนไปสมโภช วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม |
30 น.ปฐมมรณสักขี แห่งพระศาสนจักรกรุงโรม |
|
|
|
ปฏิทินเดือนกรกฎาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
2 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา |
3 สมโภชน.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
4 น.เอลีซาเบธ ราชินีแห่งโปรตุเกส |
5 น.อันตน มารีย์ ซักกาเรีย พระสงฆ์ |
6 น.มารีย์กอแรตตี พรหมจารี และ มรณสักขี |
7 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
9 น.ออกัสติน เซา รง และเพื่อนมรณสักขีชาวจีน |
10 อาทิตย์ที่ 15 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึก น.เบเนดิกต์ เจ้าอธิการ ( วันประชากรโลก ) |
12 สัปดาห์ที่ 156 เทศกาลธรรมดา |
13 น.เฮนรี่ |
14 น.คามิลโล เด เลลลิส พระสงฆ์ |
15 ระลึกถึง น.บอนาแวนตูรา พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งภูเขาคาร์แมล |
17 อาทิตย์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
19 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
20 น.อโพลินาริส พระสังฆราช และ มรณสักขี ( วันเข้าพรรษา ) |
21 น.ลอเรนซ์ แห่งบรินดิซี พระสงฆ์และ นักปราชญ์ |
22 ระลึกถึง น.มารีย์ ชาวมักดาลา |
23 น.บรียิต นักบวช |
24 อาทิตย์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
25 ฉลอง น.ยากอบ อัครสาวก |
26 ระลึกถึง น.โยอากิม และ อันนา ( บิดามารดาของพระนางมารีย์พรหมจารี ) |
27 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
28 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึง น.มาร์ธา |
30 น.เปโตร คริโลโลโก พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
31 อาทิตย์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
ปฏิทินกิจกรรมเดือนสิงหาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 ระลึกถึง น.อัลฟองโซ มารีย์ เด ลิกวอรี พระสฆังชราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 น.เอวเซบิโอ แห่งแวร์แชลลี พระสังฆราช น.เปโตร ยูเลียน ไรม์ต พระสงฆ์ |
3 สัปดาห์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ยอห์น มารีย์ เวียนเนย์ พระสงฆ์ |
5 วันถวายพระวิหารแม่พระแห่งหิมะ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ฉลพงพระเยซูเจ้าทรงประจักษ์พระวรกาย ต่อหน้าอัครสาวก |
7 อาทิตย์ที่ 19 เทศกาลธรรมดา ( วันสื่อมวลชนสากล ) |
8 ระลึกถึง น.โดมินิก พระสงฆ์ |
9 น.เทเรซา เบเนติกตาแห่งไม้กางเขน พรหมจารีและมรณสักขี |
10 ฉลองน.ลอเรนซ์ สังฆานุกรและ มรณสักขี |
11 ระลึกถึง น.กลารา พรหมจารี |
12 น.ฌาน ฟรังซังส์ เดอ ซังตาล นักบวช |
13 น.ปอนซีอาโน พระสันตะปาปาป และ น.ฮิปโปลิต พระสงฆ์ และ มรณสักขี |
14 อาทิตย์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา ( สมโภชพระนางมารีย์รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ เลื่อนไปสมโภชวันที่ 21 สิงหาคม ) |
16 น.สเตเฟนแห่งประเทศ ฮังการี |
17 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยอห์น เอิ๊ด พระสงฆ์ |
20 ระลึกถึง น.เบอร์นาร์ต เจ้าอธิการและ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
21 สมโภชพระนางมารีย์รับเกียติเข้าสู่สวรรค์ ทั้งกายและวิญญาณ |
22 ระลึกถึง พระนามารีย์ราชินีแห่งสากลโลก |
23 น.โรซา ชาวลีมา พรหมจารี |
24 ฉลอง น.บาร์โธโลมิว |
25 น.หลุยส์ กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส น.โยเซฟ กาลาซานส์ พระสงฆ์ |
26 สัปดาห์ที่ 21 เทศกาลธรรมดา |
27 ระลึกถึง น.โมนิกา |
28 อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึงน.ยอห์น แบปติสต์ ถูกตัดศีรษะ |
30 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนกันยายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
2 สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ระลึก น.เกรโกรี พระสันตะปาปา และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
4 อาทิตย์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
5 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
6 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
7 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
8 ฉลองแม่พระบังเกิด |
9 น.เปโตร คลาแวร์ พระสงฆ์ |
10 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
11 อาทิตย์ที่ 24 เทศกาลธรรมดา |
12 พระนามศักดิ์สิทธิ์ของพระนางมารีย์พรหมจารี |
13 ระลึกถึง น.ยอห์น ครีโซสตม พระสังฆราชและ นักปราชญ์ |
14 ฉลองเทิดทูนไม้กางเขน |
15 ระลึกถึงแม่่พระมหาทุกข์ |
16 ระลึกถึงน.คอร์เนเลียส พระสันตะปาปาและ น.ซีเปรียน พระสังฆราชและมรณสักขี |
17น.โรเบิร์ต แบลลาร์มีโน พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
18 อาทิตย์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยานูอารีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี |
20 ระลึกถึง น.อันดรูว์ กิม เตก็อน พระสงฆ์ เปาโล จง ฮาซัง และเพื่อนมรณสักขีขาวเกาหลี ( วันเยาวชนแห่งชาติ ) |
21 ฉลอง น.มัทธิว อัครสาวกและ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
22 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
23 ระลึกถึง น.ปีโอแห่งปีเอเตรลชีนา พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
25 อาทิตย์ที่ 26 เทศกาลธรรมดา |
26 น.คอสมา และ น.ดาเมียน มรณสักขี |
27 ระลึกถึง น.วินเซนเดอปอล พระสงฆ์ |
28 น.แวนเชสเลาส์ มรณสักขี น.ลอเรนซ์ รุยส์ และเพื่อนมรณสักขี |
29 ฉลองอัครทูตสวรรค์ มีคาแอล คาเบรียล และ ราฟาแอล |
30 ระลึกถึง น.เยโรม พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
|
|
ปฏิทินเดือนตุลาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
1 ฉลองน.เทเรซาแห่งพระกุมารเยซู พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 อาทิตย์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
3 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ฟรังซิส แห่งอัสซีซี |
5 ระลึกถึง น.โฟสตีนา โควัลสกา |
6 น.บรูโน พระสงฆ์ |
7 ระลึกถึง แม่พระลูกประคำ (วันศุกร์ต้นเดือน ) |
8 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
9 อาทิตย์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
10 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
11 น.ยอห์นที่ 23 พระสันตะปาปา |
12 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
13 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
14 น.กัลลิสตัส ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี |
15 ระลึกถึง น.เทเรซาแห่งอาวีลา พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 อาทิตย์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา ( วันแพร่ธรรมสากล วันออกพรรษา ) |
17 ระลึกถึง น.อิกญาซีโอ ชาวอันติโอก พระสังฆราช และ มรณสักขี |
18 ฉลอง น.ลูกา ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
19 น.เปาโลแห่งไม้กางเขน พระสงฆ น.ยอห์น แห่ง เบรเบิฟ น.อิสอัค โยเกอ พระสงฆ์และ เพื่อนมรณสักขี |
20 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
21 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
22 น.ยอห์น ปอลที่ 2 พระสันตะปาปา |
23 อาทิตย์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา ( วันปิยมหาราช ) |
24 น.อันตน มารีย์ คลาเรต์ พระสังฆราช |
25 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
26 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
27 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
28 ฉลองน.ซีโมน และ น.ยูดาห์ อัครสาวก |
29 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
30 อาทิตย์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนพฤศจิกายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
1 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
2วันภาวนาอุทิศแด่ผู้ล่วงลับ |
3 น.มาร์ติน เด ปอเรส นักบวช |
4 ระลึกถึง น.ชาร์ส์ โบโรเมโอ พระสังฆราช ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
5 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
6 สมโภชนักบุญทั้งหลาย |
7 สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
8สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
9 ฉลองวันครบรอบการถวายพระวิหารลาเตรัน |
10 ระลึกถึงน.เลโอ พระสันตะปาปา และ นักปราชญืแห่งพระศาสนจักร |
11 ระลึกถึง น.มาร์ติน แห่งตูร์ พระสังฆราช |
12 ระลึกถึง น.โยซาฟัต พระสังฆราชและมรณสักขี |
13 อาทิตย์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา ( วันสิทธิมนุษยชน ) |
14 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
15 น.อัลเบิร์ต ผู้ยิ่งใหญ่ พระสังฆราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 น.มาร์กาเร็ต แห่งสก็อตแลนด์ น.เยอร์ทรู๊ด พรหมจารี |
17 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
18 วันครบรอบการถวายพระวิหาร นักบุญเปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
19 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
20 สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล ( วันกระแสเรียก ) |
21 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
22 ระลึกถึงน.เซซีลีอา พรหมจารีและมรณสักขี |
23 น.เคลเมนต์ ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี น.โคลัมบัน เจ้าอธิการ |
24 ระลึกถึง น.อันดรูว์ ดุง-ลัก พระสงฆ์และเพื่อนมรณสักขี |
25 น.กาทารีนา แห่ง อเล็กซานเดรีย พรหมจารีและมรณสักขี |
26 สัปดาห์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา |
27 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( เริ่มต้นปีพิธีกรรม ปี A ) |
28 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
29 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
30 ฉลอง น.อันดรูว์ อัครสาวก |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนธันวาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันรณรงค์โรคเอดส์ ) |
2 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ฉลองน.ฟรังซิสเซเวียร์ พระสงฆ์ องค์อุปถัมภ์มิสซัง |
4 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ ( พระคัมภีร์ ) |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ) |
6 น.นิโคลัส พระสังฆราช |
7 ระลึกถึง น.อัมโบรส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
8 สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล |
9 น.ฮวน ดีเอโก |
10 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ( วันรัฐธรรมนูญ ) |
11 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
12 พระนางมารีย์พรหมจารี แห่งกวาดาลูเป |
13 ระลึกถึง น.ลูเซีย พรหมจารี และ มรณสักขี |
14 ระลึกถึง น.ยอห์นแห่งไม้กางเขน นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
16 ระลึกถึง บุญราศีทั้งเจ็ดแห่งสองคอน ( วันครูคำสอนไทย ) |
17 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
18 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
19 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
20 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
21 น.เ)ตร คานีซีอัส พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่ง |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
23 น.ยอห์น แห่งเกตี้ พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
25 สมโภชพระคริสตสมภพ |
26 ฉลองน.สเทเฟน ปฐมมรณสักขี |
27 ฉลอง น.ยอห์น อัครสาวก ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
28 ฉลองนักบุญทารกผู้วิมล |
29 น.โทมัส เบ็กเก็ต พระสังฆราช และมรณสักขี |
30 ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า |
31 น.ซิลเวสเตอร์ที่ 1 พระสันตะปาปา ( วันเริ่มต้นเทศกาลปีใหม่ ) |
|
ปฏิทินเดือนมกราคม ปี 2017
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
2 ฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร ( เสกและแห่เทียน ) |
3 น.บลาซีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี น.อันสการ์ พระสังฆราช |
4 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
5 ระลึกถึง น.อากาทา พรหมจารีและมรณสักขี ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ระลึกถึง น.เปาโล มีกิ พระสงฆ์และเพือนมรณสักขี |
7 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
8 น.เยโรม เอมีลานี พระสงฆ์ น.โยเซผิน บาคีตา พรหมจารี |
9 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
10 วันพุธรับเถ้า ( เริ่มเทศกาลมหาพรต ถือศีลอดอาหาร และ อดเนื้อ ) |
11 แม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด ( วันผู้ป่วยโลก ) |
12 หลังวันพุธรับเถ้า |
13 หลังวันพุธรับเถ้า |
14 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
15 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
16 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
17 นักบุญเจ็ดองค์ผู้ตั้งคณะผู้รับใช้พระแม่มารีย์ |
18 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
19 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
20 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
21 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
22 ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตร อัครสาวก ( วันมาฆบูชา ) |
23 ระลึกถึง น.โปลีการ์ป พระสังฆราชและมรณสักขี |
24 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
25 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
26 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
27 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
28 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
29 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
|
|
|
|
|
|