Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 อัฐวารปัสกา |
2 อัฐวารปัสกา วันศุกร์ต้นเดือน |
3 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลปัสกา ฉลองพระเมตตา |
4 สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวาจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
6 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา วันจักรี |
7 ระลึกถึง น.ยหอ์น บัปติสต์ เดอลาซาล พระสงฆ์ |
8 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
9 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลปัสกา |
10 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
11 น.สตานิเลาส์ พระสังฆราชและมรณสักขี |
12 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
13 ระลึกถึง น.มาร์ตินที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี (วันสงกรานต์ ) |
14 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
16 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลปัสกา |
17 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลปัสกา ( วันภาวนาเพื่อกระแสเรียก วันรณรงค์เพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ ) |
18 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
19 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
20 สัปดาห์ท ี่ 4 เทศกาลปัสกา |
21 น.อันเซลม์ พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา |
23น.ยอร์จ มรณสักขี |
24 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
25 ฉลองน.มาระโฏ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
26 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
27 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา |
28 น.เปโตร ชาเนล พระสงฆ์และมรณสักขี น.หลุยส์มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ต พระสงฆ์ |
29 ระลึกถึง น.กาธารีนาแห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
30 น.ปีโอ ที่ 5 พระสันตะปาปา |
|
บทที่ 5 การเชื้อเชิญทุกคนทั่วไป ให้เข้ามาสู่ความศักดิ์สิทธิ์ในพระศาสนจักร
- รายละเอียด
- หมวด: เอกสารแห่งสภาสังคายนาวาติกันที่ 2
- เขียนโดย itbkk
- ฮิต: 2226
อรัมภบท
39. สภาพระสังคายนาสากล นำเอาพระอคาธัตถ์ของพระศาสนจักรมาตีแผ่ให้เห็น. ชาวเราเชื่อว่าพระศาสนจักรเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์อย่างจะขาดเสียมิได้. เพราะด้วยว่าพระคริสตเจ้าพระบุตรของพระเป็นเจ้า พระองค์ท่านพร้อมกับพระบิดาและพระจิต ได้ทรงรับคำเทิดทูนสรรเสริญว่า “เป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์แต่ผู้เดียว” พระองค์ได้ทรงรักปฏิพัทธิ์พระศาสนจักร ถือเอาเป็นภริยาของพระองค์ท่านเอง, ได้ทรงมอบพระองค์ท่านแก่พระศาสนจักร เพื่อบันดาลให้ตัวท่านศักดิ์สิทธิ์ (เทียบ อฟ. 5,25-26), ได้ทรงนำเอาพระศาสนจักรมาแนบติดกับพระองค์ท่าน จนกระทั่งเป็นร่างกายของพระองค์, พร้อมทั้งโปรดได้พระศาสนจักรประกอบอยู่ด้วยทานต่าง ๆ ของพระจิตเจ้าอย่างอุดมเปี่ยมล้น ทั้งนี้เพื่อเกียรติมงคลแด่พระเป็นเจ้า. เพราะฉะนั้นทุก ๆ คนในพระศาสนจักร, ทั้งผู้สังกัดอยู่ในพระฐานานุกรม, ทั้งผู้รับเลี้ยงดูจากพระฐานานุกรม, ทุกคนไม่เว้นใครเลย ได้รับการเชื้อเชิญให้เข้ามาสู่ความศักดิ์สิทธิ์, ทั้งนี้เป็นไปตามวาจาของท่านอัครสาวกว่า : “น้ำพระทัยของพระเป็นเจ้าคือ ให้ท่านทั้งหลายเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์” (1 ธส. 4,3 ; เทียบ อฟ. 1,4). ความศักดิ์สิทธิ์ของพระศาสนจักรอันนี้ เผยตัวออกมาด้วยผลานุผลของพระหรรษทาน ที่พระจิตเจ้าทรงผลิตขึ้นในตัวสัตบุรุษ, ปรากฏให้เห็นอยู่เสมอมิได้ขาด และก็จำเป็นต้องปรากฏออกมาด้วย. การปรากฏให้เห็นนั้นเป็นไปโดยแบบต่าง ๆ กัน สุดแต่สัตบุรุษแต่ละคนจะพยายามตามระบบการดำเนินชีพของแต่ละคน เพื่อไปสู่ความครบครัน, เขาแสดงตัวของเขาให้ปรากฏตามทำนองของเขาเองก็ว่าได้ในการปฏิบัติตามคำตักเตือน ที่เคยเรียกกันว่า “คำแนะนำแห่งพระวรสาร” การปฏิบัติตามคำแนะนำแห่งพระวรสารนี้ พระจิตเจ้าทรงเป็นผู้กระตุ้นเตือน, คริสตชนเป็นอันมาก จึงได้รับมาปฏิบัติ, ตามทำนองส่วนตัวของเขาเองบ้าง, บ้างก็ไปเข้าอยู่ในกฎเกณฑ์หรือเข้าอยู่ในสถานะที่พระศานจักรกำหนดตั้งไว้, ผลก็คือเขาไขแสดง, และจำเป็นต้องไขแสดงเป็นการยืนยันและเป็นแบบอย่างแห่งความศักดิ์สิทธิ์อันนั้น ๆ ให้ประจักษ์เห็นได้แจ่มกระจ่าง.
การเชิญทุกคนทั่วไปให้มาสู่ความศักดิ์สิทธิ์
40. พระอาจารย์ และองค์ตัวแบบของความศักดิ์สิทธิ์ทั้งสิ้นคือพระสวามีเยซูเจ้า, พระองค์ได้ทรงเทศน์สอนสานุศิษย์ของพระองค์ทุก ๆ คน และแต่ละคน, ไม่ว่าเขาจะมีฐานะอันใด, ให้เขาซาบซึ้งถึงความศักดิ์สิทธิ์ในชีวิต อันพระองค์ท่านเองทรงเป็นองค์ผู้ให้กำเนิดทั้งเป็นองค์ความสำเร็จ, โดยมีพะดำรัสว่า : “ท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้ดีครบครัน เหมือนพระบิดาในสวรรค์ของท่านทรงเป็นผู้ดีครบครันนั้นเถิด” (มธ. 5,48) พระองค์ได้ทรงส่งพระจิตเจ้าเข้ามาในตัวทุกคน เพื่อปลุกกระตุ้นภายในให้เขารักพระเป็นเจ้าด้วยสุดดวงใจ, สุดวิญญาณ, สุดความนึกคิด และสุดความสามารถของเขา (เทียบ มก. 12,30) และให้เขารักกันและกันเหมือนพระคริสตเจ้าทรงรักพวกเขา (เทียบ ยน. 13,34; 15,12) บรรดาผู้เจริญรอยตามพระบาทพระคริสตเจ้า พระเป็นเจ้าได้ทรงเรียกเขาไม่ใช่เพราะน้ำพักน้ำแรงอะไรของเขา แต่เป็นเพราะพระประสงค์ และน้ำพระทัยของพระเป็นเจ้าและพระหรรษทานของพระเป็นเจ้า เขาจึงได้กลายเป็นผู้ชอบธรรมในองค์พระเยซูคริสตเจ้า, โดยศักดิ์สิทธิการ - ล้างบาป อันประทานความเชื่อ เขาจึงกลายเป็นบุตรของพระเป็นเจ้าโดยแท้ และเขามีส่วนร่วมในสภาวะพระเจ้า ; ฉะนั้น เขาจึงได้กลายเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์อย่างแท้จริง. ความศักดิ์สิทธิ์ที่พวกเขาได้รับนี้ เดชะพระเป็นเจ้าโปรด, เขาจะต้องสงวนรักษาไว้ และนำไปสู่ความสำเร็จในการบำเพ็ญชีพของเขา. ท่านอัครสาวกตักเตือนให้บำเพ็ญ “อย่างเหมาะสมกับพวกนักบุญ” (อฟ. 5,3), และให้เขานุ่งห่มอย่างบรรดาผู้ที่ได้รับเลือกสรรจากพระเป็นเจ้า, อย่างนักบุญ และอย่างผู้เป็นที่รักเสน่หา, นั่นคือนุ่งห่มความรักเมตตาจิต, ความใจดี ใจกรุณา, ความสุภาพถ่อมตน, ความสงบเสงี่ยมและความเพียรอดทน” (คส. 3,12), และให้เขานำผลานุผลของพระจิตเจ้ามาเป็นเครื่องบันดาลความศักดิ์สิทธิ์ (เทียบ คส. 5,22 ; รม. 6,22) แต่เพราะเราทุกคนย่อมทำผิด, ทำบาปในหลาย ๆ เรื่อง (เทียบ ยก. 3,2) เราจึงต้องอธิษฐานภาวนาทุก ๆ วันว่า “โปรดยกหนี้ข้าพเจ้า” (มธ. 6,12)
ฉะนั้นจึงเป็นที่ประจักษ์แจ้งชัดแก่สายตาทั่วไปว่า สัตบุรุษคริสตชนทุก ๆ คน, ไม่ว่าอยู่ในฐานะอันใด, หรืออยู่ในชั้นวรรณะใด, เขาทุกคนได้รับการเชื้อเชิญให้มาสู่ความสมบูรณ์ของชีวิตคริสตชน และความครบครันด้านความรักเมตตาจิต. ความศักดิ์สิทธิ์อันนี้ แม้สังคมฝ่ายโลกก็สนับสนุน เป็นทางให้เกิดมีทำนองครองชีพที่มีมนุษยธรรมมากขึ้น. เพื่อบรรลุถึงความดีบริบูรณ์อันนี้ ท่านสัตบุรุษทั้งหลาย จงออกกำลังเรี่ยวแรงตามอัตราส่วนทานที่ท่านได้รับจากพระคริสตเจ้าเถิด เพื่อว่า เมื่อท่านได้สะกดรอยตามพระยุคลบาทแล้ว ท่านจะได้กลายเป็นพระฉายาลักษณ์ของพระองค์ท่าน และเมื่อได้ปฏิบัติตามน้ำพระทัยของพระบิดาในทุกสิ่งทุกอย่างแล้ว ท่านจะได้พลีตนจนหมดสิ้นดวงใจ เพื่อเป็นเกียรติมงคลแด่พระเป็นเจ้า และเป็นบริการแก่พี่น้องคนทั่วไป. เมื่อเป็นดังนี้ ความศักดิ์สิทธิ์แห่งประชากรของพระเป็นเจ้า จะบรรลุผลสมบูรณ์ดุจดังประวัติการณ์ของพระศาสนจักรได้บันทึกผล ให้เป็นประจักษ์ชัดแจ้งมาแล้วในประวัติของบรรดานักบุญ.
ความศักดิ์สิทธิ์มีอันเดียว แต่การปฏิบัติความศักดิ์สิทธิ์มีหลายรูปแบบ
41. แม้ทำนองบำเพ็ญชีพ และหน้าที่การงานจะแตกต่างกัน แต่ทุก ๆ คน ก็ปลูกฝังเลี้ยงดูความศักดิ์สิทธิ์อันหนึ่งอันเดียวกัน. เขาทุกคนได้รับการกระตุ้นจากพระจิตของพระเป็นเจ้า ทั้งพวกเขาก็นอบน้อมเชื่อฟังพระสุรเสียงของพระบิดา ในจิตใจตามความเป็นจริง, เขาสะกดรอยเดิมตามพระคริสตเจ้าผู้ยากจน, ผู้ถ่อมตนและผู้แบกกางเขน เพื่อให้ตัวเขาสมควรมีส่วนในพระเกียรติมงคลของพระองค์ท่าน. ใครได้รับพระคุณเฉพาะตัวและโภคทรัพย์เท่าไร เขาก็ต้องใช้พระคุณทั้งหมดนั้น เดินหน้าไปโดยไม่ชักช้า ตามความเชื่ออันชุ่มชื่นมีชีวิต ซึ่งกระตุ้นให้เกิดมีความหวัง และผลิตผลงานโดยอาศัยความรัก.
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บรรดาชุมพาบาลผู้เลี้ยงดูฝูงแกะของพระคริสตเจ้า ท่านต้องปฏิบัติภาระหน้าที่ของท่านอย่างศักดิ์สิทธิ์, กระฉับกระเฉง, สุภาพถ่อมตนและแข็งขัน ตามอย่างองค์พระสงฆ์สูงสุดนิรันดร, ตามอย่างองค์พระชุมพาบาล และพระสังฆราชแห่งวิญญาณของชาวเรา, การปฏิบัติหน้าที่อันนี้จะเป็นวิธีการอันทรงฤทธิ์ บันดาลความศักดิ์สิทธิ์แก่ตัวชุมพาบาลเองด้วย. พวกท่านผู้ได้รับเลือกสรรถึงขั้นสังฆภาพอันสมบูรณ์, ท่านได้รับพระหรรษทานประจำศักดิ์สิทธิการประจำตัวท่านในการอธิษฐานภาวนา, ในการถวายบูชา, ในการเทศนาสั่งสอน, โดยเอาใจใส่ทุกรูปแบบ ให้บริการในฐานะพระสังฆราช, ขอให้ท่านปฏิบัติภารกิจความรักอันสมบูรณ์ตามหน้าที่ชุมพาบาล, ขอให้ท่านอย่ากลัวที่จะพลีชีวิตของท่านเพื่อฝูงแกะ และเมื่อท่านได้ทำตัวเป็นแบบอย่างแก่ฝูงแกะแล้ว (เทียบ 1 ปต. 5,3), ท่านจะค้ำจุนพระศาสนจักรด้วยแบบอย่างของท่านเองด้วย จะเป็นทางนำพระศาสนจักรไปสู่ความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งวันยิ่งทวีขึ้น.
บรรดาพระสงฆ์ ก็มีความละม้ายคล้ายกันกับศักดิ์สิทธิการอนุกรมของพระสังฆราช, ท่านเป็นมงกุฎฝ่ายวิญญาณแวดล้อมพระสังฆราช, มีส่วนร่วมในพระหรรษทานประจำหน้าที่ของพระสังฆราช, โดยมีองค์พระคริสตเจ้าเป็นองค์คนกลางนิรันดรแต่องค์เดียว, ฉะนั้น ขอให้บรรดาพระสงฆ์จงเจริญวัฒนา ปฏิบัติหน้าที่ประจำวันของตน ๆ, และเพราะความรักต่อพระเป็นเจ้า และความรักต่อญาติพี่น้อง, ขอให้ท่านรักษาสายสัมพันธ์แห่งสังฆภาพไว้, จงเพิ่มพูนคุณงานความดีด้านวิญญาณทุก ๆ อย่าง, และจงทำตัวเป็นพยานของพระเป็นเจ้า ; เป็นพยานที่มีชีวิตจริง ๆ และต่อหน้าทุก ๆ คน, ขอให้ท่านขันสู้กับบรรดาพระสงฆ์ ซึ่งในกระแสศตวรรษต่าง ๆ, โดยมากท่านมักอยู่ในฐานะต่ำต้อยและเก็บตัว, ท่านได้ทำตัวเป็นแบบฉบับอันเจิดจ้าของความศักดิ์สิทธิ์. เกียรติยศ เกียรติศักดิ์ของพระสงฆ์เหล่านั้น คงดำรงอยู่ในพระศาสนจักรของพระเป็นเจ้า. พระสงฆ์เมื่อบำเพ็ญภาวนาตามหน้าที่เพื่อชุมนุมชนของท่าน และ เพื่อประชากรของพระเป็นเจ้า, เมื่อถวายบูชา, ท่านก็รับรู้สิ่งที่ตนกระทำ และท่านเอาอย่างสิ่งที่ท่านแตะต้อง, อย่าว่าแต่ท่านจะยอมแพ้เลย เมื่อท่านสาละวนอยู่ในงานธรรมทูต, เมื่อประสบอันตราย, เมื่อได้รับความทุกข์ยาก, สิ่งทั้งหลายเหล่านี้กลับทำให้ท่านสูงเด่นขึ้นไปอีก เพราะท่านเคยบำเพ็ญฌาณบ่อย ๆ และมาก ๆ อยู่เสมอ ท่านจึงเลี้ยงดูและพยุงค้ำจุนกิจการกระทำของท่าน, จึงเป็นเหตุให้พระศาสนจักรทั้งหมดรู้สึกชื่นชมยินดีและเบาใจ. ท่านพระสงฆ์ทั้งหลาย เฉพาะอย่างยิ่งพระสงฆ์ที่ในความรับศีลศักดิ์สิทธิการ – อนุกรม, ได้ให้สัญญาสังกัดอยู่ในสังฆมณฑล, พึงระลึกว่าสิ่งที่จะทำให้ตัวท่านบรรลุถึงความศักดิ์สิทธิ์นั้น ก็คือความสมัครสมานร่วมใจซื่อตรงต่อพระสังฆราชของท่าน และร่วมงานด้วยใจกว้างขวางกับพระสังฆราชของท่านนั่นแหละ.
ผู้มีส่วนร่วมตามทำนองพิเศษ ในภารกิจและพระหรรษทานขององค์พระสงฆ์สูงสุด ก็ยังมีข้าบริการขั้นต่ำลงมา คือ บรรดาสังฆานุกร (Diaconi) เขาเป็นผู้รับใช้อคาธัตถ์ของพระคริสตเจ้าและของพระศาสนจักร, เขาพึงระมัดระวัง, ทำตัวให้บริสุทธิ์ปราศจากบาป และความชั่วทุกอย่าง เพื่อให้เป็นที่สบพระทัยพระเป็นเจ้า และพึงใฝ่หาคุณงามความดีทุกชนิดให้ปรากฏต่อสายตามวลมนุษย์ (เทียบ 1 ทม. 3,8-10 และ 12,13). บรรดาบรรพชิต (ผู้ครองสมณเพส = Clerici) (60) เขาพวกนี้ได้รับเรียกจากพระสวามีเจ้า และได้รับการคัดเลือกไว้ร่วมมีส่วนของพระองค์, เขากำลังเตรียมตัวเพื่อเป็นศาสนบริกรในภายภาคหน้า, ภายใต้การเอาใจใส่ดูแลของชุมพาบาล : เขาจึงต้องหันความนึกคิดและหัวใจของเขาให้คล้อยตามการเลือกสรรอันทรงศักดิ์ศรีอันนี้ : เขาต้องหมั่นอธิษฐานภาวนา, ต้องมีความรักร้อนรน, คิดถึงแต่สิ่งที่ดีงามที่ยุติธรรมและที่ทำให้ชื่อเสียงของตนหอม เขาต้องก้าวหน้าในทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อเกียรติศักดิ์, เกียรติมงคลของพระเป็นเจ้า. รองลงมาคือพวกฆราวาสที่ได้รับเลือกสรรจากพระเยซูเจ้า เขาเสียสละตนเต็มเวลาเพื่อกิจการธรรมทูต, เป็นผู้ที่พระสังฆราชเรียกมา และทำงานอย่างได้ผลมากในนาของพระสวามีเจ้า.
ส่วนสามีภรรยา และบิดามารดาคริสตัง เขาต้องดำเนินชีพตามทางเฉพาะของเขา ขอให้มีความรักอันสัตย์ซื่อต่อกันและกัน และช่วยพยุงกันให้ดำรงอยู่ในพระหรรษทานตลอดกระแสชีวิตทั้งหมด และขอให้เขาเลี้ยงและอบรมเชื้อสายที่ได้รับมาจากพระเป็นเจ้า ด้วยความรักอันมั่นคงตามคำสอนคริสตัง และคุณธรรมต่าง ๆ ตามนัยพระวรสาร นี่แหละเป็นทางให้เขาเผยแสดงแบบอย่างแห่งความรักอันไม่รู้เหนื่อยหน่าย และอันเสียสละด้วยใจกว้างขวาง ให้เป็นที่ปรากฏแก่คนทั้งหลาย, เขาเสริมสร้างภราดรภาพแห่งความรักประสาพี่น้อง, เขาทำตัวเป็นพยานร่วมมือกับความอุดมสมบูรณ์ของพระศาสนจักรผู้เป็นมารดา เพื่อเป็นเครื่องหมาย และมีส่วนร่วมในความรักเสน่หา ที่พระคริสตเจ้าทรงมีต่อพระชายาของพระองค์ จนกระทั่งได้ทรงมอบพระองค์เองเพื่อเธอ, พวกแม่ม่าย และพวกคนโสดก็เช่นกัน เขาทำงานเพื่อเป็นแบบอย่าง แต่คนละวิธี : เขาอาจบำเพ็ญคุณประโยชน์แก่ศาสนจักรได้มิใช่น้อย. ในด้านความศักดิ์สิทธิ์และการเสียสละการทำงาน. ส่วนพวกที่ตรากตรำทำการงาน ซึ่งโดยมากเป็นการงานที่ยากลำบาก, การออกแรงของเขานั้น ต้องทำให้เขาได้รับผลประโยชน์จากน้ำพักน้ำแรงประสามนุษย์, เขาต้องช่วยเพื่อนร่วมชาติ, เขาต้องสนับสนุนค้ำจุนสังคมทั้งหมดด้วย. การสร้างงานใหม่เพื่อนำไปสู่ฐานะที่ดีกว่าเก่า อย่างไรก็ดีเขายังต้องออกแรงทำการงานตามอย่างพระคริสตเจ้า, พระองค์ได้ทรงพอพระทัยใช้พระหัตถ์ของพระองค์ทำงานช่าง และยังคงร่วมงานกับพระบิดาอยู่เสมอในการช่วยมนุษย์ทุก ๆ คนให้รอด, โดยที่ตัวเขาเองปฏิบัติแสดงความรักให้ปรากฏด้วยลงมือทำการงาน, พลางยินดีร่าเริง เพราะมีความหวัง ต่างคนต่างแบกภาระของกันและกัน, และโดยการทำงานทุก ๆ วันนี้เอง ขอให้เขาพุ่งตัวไปสู่ความศักดิ์สิทธิ์ ทางด้านงานธรรมทูตยิ่งขึ้นไปด้วย.
เป็นพิเศษ สำหรับบุคคลที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ ขอให้พวกเขาทราบเถิดว่า ตัวเขาก็ร่วมสนิทอยู่กับพระคริสตเจ้าด้วยเหมือนกัน พระองค์ท่านได้ทรงทนทุกข์ทรมานเพื่อความรอดของโลก, ฉะนั้น บุคคลที่ประสบความยากแค้นทุพพลภาพ, ถูกโรคภัยไข้เจ็บและได้รับความยากลำบากต่าง ๆ นานา, หรือบุคคลที่ถูกเบียดเบียนข่มเหงเพราะความยุติธรรม, คนเหล่านี้พระคริสตเจ้าประกาศไว้ในพระวรสารเรียกว่า เป็นผู้มีบุญ และเป็นบุคคลที่ “พระเป็นเจ้า… ผู้ทรงเมตตากรุณาหาที่สุดมิได้ ได้ทรงเรียกชาวเราให้เข้าไปสู่พระสิริมงคลนิรันดรของพระองค์ในพระเยซูคริสตเจ้า, ในเมื่อชาวเราได้สู้ทนเล็ก ๆ น้อย ๆ, พระองค์ท่านเองก็ทรงต่องานนั้นให้สำเร็จ และจะทรงโปรดให้ชาวเรามีกำลังมั่นคง (1 ปต. 5,10).
จึงเป็นอันว่าสัตบุรุษคริสตชนทุก ๆ คน จะทำให้ตัวเขาศักดิ์สิทธิ์ยิ่งวันยิ่งมากขึ้น ในสถานะต่าง ๆ แห่งชีวิตของเขา, ในพนักงานหน้าที่หรือในกรณีต่าง ๆ และโดยทางทุกสิ่งทุกอย่าง ขอเพียงให้เขายอมเชื่อว่า ทุกสิ่งทุกอย่างมาจากพระบิดาเจ้าสวรรค์ และเขายอมร่วมมือตามน้ำพระทัยของพระเป็นเจ้า แสดงให้ปรากฏแก่คนทั้งหลาย โดยบริการทางโลกนั้นว่า : เขามีความรักเมตตาจิตอย่างที่พระเป็นเจ้าทรงรักโลกนั้นเอง.
หนทางและวิธีไปสู่ความศักดิ์สิทธิ์
42. “พระเป็นเจ้าเป็นองค์ความรัก และผู้ใดอยู่ในความรัก ผู้นั้นก็อยู่ในพระเป็นเจ้า และพระเป็นเจ้าก็ทรงดำรงอยู่ในตัวเขาผู้นั้น” (1 ยน. 4,16). พระเป็นเจ้าได้ทรงหลั่งความรักของพระองค์ลงในจิตใจของชาวเรา โดยผ่านทางพระจิตเจ้าซึ่งเราได้รับ (เทียบ รม. 5,5) เพราะฉะนั้น ทานอันดับหนึ่ง และทานอันจำเป็นอย่างที่สุด ก็คือความรัก ซึ่งทำให้เรารักพระเป็นเจ้าเหนือทุกสิ่ง และทำให้เรารักเพื่อนมนุษย์เพราะพระเป็นเจ้า. แต่เพื่อจะให้ความรักซึ่งเปรียบดังพืชดี เจริญงอกงามขึ้น และผลิตดอกออกผลในวิญญาณของเรา, สัตบุรุษแต่ละคนต้องยินดีฟังพระวาจาของพระเป็นเจ้า และโดยที่พระหรรษทานเข้าช่วยเหลือ เขาก็ปฏิบัติตามน้ำพระทัยของพระองค์ด้วยการงาน, เขาร่วมเข้าส่วนบ่อย ๆ ในศักดิ์สิทธิการ เป็นต้นศักดิ์สิทธิการพระสดุดีบูชา และในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เขาบำเพ็ญการอธิษฐานภาวนา, เขาเสียสละตนเอง, เขารับใช้พี่น้องด้วยออกแรงทำการงาน, เขาฝึกฤทธิ์กุศล (คุณธรรม) ทุก ๆ ชนิดด้วยใจมั่นคงหนักแน่น เหตุว่า ความรักในฐานะเป็นโซ่ผูกรวมความดีบริบูรณ์ และเป็นสุดยอดของพระบัญญัติ (เทียบ คส. 3,14; รม. 13,10), ก็เป็นตัวจักรจัดระเบียบวิธีการทุกอย่างในเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ บันดาลให้กระปรี้กระเปร่ามีชีวิตชีวา, และนำไปสู่จุดหมายปลายทาง เพราะฉะนั้นความรักทั้งต่อพระเป็นเจ้า ทั้งต่อเพื่อนมนุษย์ จึงเป็นเครื่องหมายบอกว่า ใครเป็นศิษย์แท้ของพระคริสตเจ้า.
พระเยซู พระบุตรของพระเป็นเจ้า ได้ทรงแสดงความรักของพระองค์ให้ประจักษ์ ด้วยการเสียสละพระชนม์ชีพของพระองค์ท่านเองเพื่อชาวเรา, เป็นอันว่า ไม่มีใครมีความรักใหญ่หลวงกว่าผู้ที่สละพระชนม์ชีพเพื่อพระองค์ และเพื่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน (เทียบ 1 ยน. 3,16; ยน. 15,13). เพื่อยืนยันความรักอันนี้อย่างสำคัญยิ่งยวดต่อหน้าคนทั้งหลาย และเป็นต้น ต่อหน้าผู้เบียดเบียนเคี่ยวเข็ญ ได้มีบุคคลบางคนนับแต่สมัยแรกเริ่มมีชื่อเรียกว่า คริสตชนและจะมีชื่อเรียกดังนี้ต่อไปอีกด้วย. การเสียสละชีวิตเพื่อพระศาสนา (การเป็นมรณสักขี = Martyrium) (67) ทำให้ศิษย์เหมือนกับพระอาจารย์ผู้ทรงยินดีตายเพื่อความรอดของโลก และทำให้ละม้ายคล้ายกับพระองค์ท่าน ด้วยการหลั่งพระโลหิต, การกระทำอันนี้ พระศาสนจักรเคารพเชิดชูถือว่าเป็นพระคุณอันแสนประเสริฐ และเป็นเครื่องพิสูจน์อันสูงส่งแห่งความรัก. จริงอยู่ พระคุณประการน้อยคนนักจะได้รับ, อย่างไรก็ดี ทุก ๆ คนต้องเตรียมพร้อมจะประกาศพระคริสตเจ้าต่อหน้ามวลมนุษย์ และต้องดำเนินชีพตามพระองค์ท่านไปตามทางไม้กางเขน ขณะถูกเบียดเบียนเคี่ยวเข็ญ ซึ่งภัยอย่างนี้ไม่เคยหมดสิ้นไปในพระศาสนจักร.
ความศักดิ์สิทธิ์ของพระศาสนจักร ยังได้รับการเลี้ยงดูประคบประหงมด้วยวิธีพิเศษ กล่าวคือด้วยการปฏิบัติตามคำแนะนำหลายประการ ที่พระสวามีเจ้าได้ทรงเสนอไว้ในพระวรสาร, แนะนำให้สานุศิษย์ของพระองค์รับปฏิบัติ. ในคำแนะนำเหล่านั้น ที่เด่นคือพระคุณอันแสนประเสริฐแห่งพระหรรษทาน, อันที่พระบิดาประทานให้แก่คนบางคน (เทียบ มก. 19,11; 1 คร. 7,7) นั่นคือให้เขาถือพรหมจรรย์หรือถือโสด, เพื่อว่าเขาจะได้ถวายการงานสละตัวง่ายขึ้น โดยไม่แบ่งแยกดวงใจของตนแก่ใครเลย (เทียบ 1 คร. 7,32-34), เขารับใช้ปรนนิบัติพระเป็นเจ้าแด่ผู้เดียว. อันการอดกลั้นอย่างบริบูรณ์ เพื่อพระราชัยสวรรค์อันนี้ พระศาสนจักรเคารพเทิดชูให้เกียรติสูงส่งอยู่เสมอ ถือว่าเป็นเครื่องหมาย และเครื่องกระตุ้นความรัก และอันที่จริงกิจกรรมอันนี้ ก็เป็นท่อธารพิเศษ ก่อให้เกิดความสมบูรณ์มีลูกดกฝ่ายวิญญาณในโลกนี้.
พระศาสนจักรยังพินิจพิจารณาคำตักเตือนของท่านอัครสาวก, ซึ่งเรียกร้องให้สัตบุรุษมีความรัก โดยกระตุ้นให้เขารู้สึกในตัวของเขาเอง สิ่งซึ่งเป็นอยู่ในองค์พระคริสตเยซู, พระองค์นี้ได้ทรงกลายเป็นเปล่าเมื่อเสด็จมารับร่างกายของทาส … พระองค์ได้ทรงเชื่อฟังจนกระทั่งตาย (ฟล. 2,7-8) และเพราะเห็นแก่ชาวเรา “พระองค์ได้ทรงกลายเป็นคนขัดสน ทั้ง ๆ ที่ทรงเป็นเศรษฐี” (2 คร. 8,9). เนื่องจากที่พวกสานุศิษย์จำเป็นต้องแสดงออกอยู่เสมอถึงการเอาอย่างและการยืนยันในเรื่องความรัก และการถ่อมตนขององค์พระคริสตเจ้า, พระศาสนจักรผู้เป็นมารดา จึงรู้สึกชื่นชมเมื่อมองเห็นว่า ในอุระของท่านมีบุคคลจำนวนมาก ทั้งบุรุษและสตรีเจริญชีพอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น ตามพระแบบฉบับนั้น : เขาถือตัวเป็นเปล่าตามพระผู้ไถ่, เขาแสดงออกให้ปรากฏชัดยิ่งขึ้น : แม้, ในฐานะบุตรของพระเป็นเจ้า เขาเป็นอิสระ, ถึงกระนั้นเขายอมรับเอาความยากจนและยอมสละทิ้งน้ำใจของตนเอง อันเป็นสิทธิเฉพาะของเขา, กล่าวคือ เขายอมมอบตนเองให้อยู่ใต้อำนาจของคนด้วยกัน ทั้งนี้เพราะเห็นแก่พระเป็นเจ้า, ในแง่ของความดีครบครัน และยอมปฏิบัติเกินเลยไปเสียด้วยซ้ำ ทั้งนี้เพื่อจะทำตนเองให้ละม้ายคล้ายพระคริสตเจ้าผู้ทรงเชื่อฟัง, ให้บริบูรณ์ยิ่ง ๆ ขึ้นไป
เป็นอันว่า สัตบุรุษคริสตชนทุก ๆ คนได้รับเชิญ ทั้งมีหน้าที่ต้องแสวงหาความศักดิ์สิทธิ์ และความดีครบครันตามฐานะของตน ๆ. ฉะนั้นทุก ๆ คน จงใส่ใจจัดระเบียบตัณหา ความปรารถนาของตนให้อยู่ในร่องในรอย, ขณะใช้ข้าวของของโลกนี้ จงอย่าผูกใจติดในมันจนเป็นการกำจัดจิตตารมณ์แห่งพระวรสารเรื่องความยากจน, จนเป็นเหตุขัดข้องมิให้บรรลุถึงความครบครันแห่งความรัก, โปรดฟังคำท่านอัครสาวกที่เตือนสติว่า “บรรดาผู้ใช้ข้าวของของโลกนี้ จงอย่าติดตั้งอยู่ในมัน เพราะว่าภาพของโลกนี้ย่อมล่วงพ้นไป.” (เทียบ 2 คร. 7,31 กริก).
ปฏิทินเดือนเมษายน ปี 2016
ปฏิทินเดือนพฤษภาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
|
1 อาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันแรงงานแห่งชาติ ) |
2 ระลึกถึงน.อาทานาส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
3 ฉลองน.ฟิลิป และ น.ยากอบ อัครสาวก |
4 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
5 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันฉัตรมงคล ) |
6 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
7 สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา |
8 สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ |
9 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
10 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
11 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลปัสกา |
12น.เนเรโอ อาคิลเลโอ และ เพื่อนมรณสักขี น.ปันกราส มรณสักขี |
13 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งฟาติมา |
14 ฉลอง น.มัทธีอัส อัครสาวก |
15 สมโภชพระจิตเจ้า |
16 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
18 น.ยอห์นที่ 1 พระสันตะปาปาและมรณสักขี |
19 สัปดาห์ที่ 7 เทศกาลธรรมดา |
20 น.เบอร์นาดิน แห่งซีเอนา พระสงฆ์ ( วันวิสาขบูชา ) |
21 น. คริสโตเฟอร์ มักอัลลาเนส และเพื่อนมรณสักขี |
22 สมโภชพระตรีเอกภาพ |
23 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
24 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
25 น.เกรโกรี่ที่ 7 พระสันตะปาปา น.เบดา พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร น.มารีย์ มักดาเลนา เด ปัสซี พรหมจารี |
26 ระลึกถึง น.ฟิลิป เนรี พระสงฆ์ |
27 น.ออกัสติน แห่งแคนเตอร์เบอรี พระสังฆราช |
28 สัปดาห์ที่ 8 เทศกาลธรรมดา |
29 สมโ๓ชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า |
30 สัปดาห์ที่ 9 เทศกาลธรรมดา |
31 ฉลองพระนางมารีย์เสด็จเยี่ยมเยียน ( วันงดสูบบุหรี่โลก ) |
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนมิถุนายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
1 ระลึกถึงน.ยุสติน มรณสักขี |
2 น.มาร์แชลลิน และ น.เปโตร มรณสักขี |
3 สมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
4 ระลึกถึงดวงหทัยของพระแม่มารีย์ |
5 อาทิตย์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา ( วันสิ่งแวดล้อมโลก ) |
6 น.นอร์เบิร์ต พระสังฆราช |
7 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
9 น.เอเฟรม สังฆานุกรและ นักปราชญ์ |
10 สัปดาห์ที่ 10 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึกถึง น.บาร์นาบัส อัครสาวก |
12 อาทิตย์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
13 ระลึกถึง น.อันตนแห่งปาดัว พระสงฆ์และนักปราชญ์ |
14 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
16 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
17 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา |
19 อาทิตย์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
20 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาล |
21 ระลึกถึงน.หลุยส์ คอนซากา นักบวช |
22 น.เปาลิน แห่งโนลา พระสังฆราช น.ยอห์น พิชเชอร์ และ โทมัส โมร์ มรณสักขี |
23 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
24 สมโภช น.ยอห์น แบปติสต์ บังเกิด |
25 สัปดาห์ที่ 12 เทศกาลธรรมดา |
26 อาทิตย์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันต่อต้านยาเสพติด ) |
27 น.ซีริล แห่งอเล็กซันเดรีย พระสังฆราชและนักปราชญ์พระศาสนจักร |
28 ระลึกถึง น.อีเรเนโอ พระสังฆราชและมรณสักขึ |
29 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันสมโภช น.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก ) เลื่อนไปสมโภช วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม |
30 น.ปฐมมรณสักขี แห่งพระศาสนจักรกรุงโรม |
|
|
|
ปฏิทินเดือนกรกฎาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
2 สัปดาห์ที่ 13 เทศกาลธรรมดา |
3 สมโภชน.เปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
4 น.เอลีซาเบธ ราชินีแห่งโปรตุเกส |
5 น.อันตน มารีย์ ซักกาเรีย พระสงฆ์ |
6 น.มารีย์กอแรตตี พรหมจารี และ มรณสักขี |
7 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
8 สัปดาห์ที่ 14 เทศกาลธรรมดา |
9 น.ออกัสติน เซา รง และเพื่อนมรณสักขีชาวจีน |
10 อาทิตย์ที่ 15 เทศกาลธรรมดา |
11 ระลึก น.เบเนดิกต์ เจ้าอธิการ ( วันประชากรโลก ) |
12 สัปดาห์ที่ 156 เทศกาลธรรมดา |
13 น.เฮนรี่ |
14 น.คามิลโล เด เลลลิส พระสงฆ์ |
15 ระลึกถึง น.บอนาแวนตูรา พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 พระนางมารีย์พรหมจารีแห่งภูเขาคาร์แมล |
17 อาทิตย์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
19 สัปดาห์ที่ 16 เทศกาลธรรมดา |
20 น.อโพลินาริส พระสังฆราช และ มรณสักขี ( วันเข้าพรรษา ) |
21 น.ลอเรนซ์ แห่งบรินดิซี พระสงฆ์และ นักปราชญ์ |
22 ระลึกถึง น.มารีย์ ชาวมักดาลา |
23 น.บรียิต นักบวช |
24 อาทิตย์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
25 ฉลอง น.ยากอบ อัครสาวก |
26 ระลึกถึง น.โยอากิม และ อันนา ( บิดามารดาของพระนางมารีย์พรหมจารี ) |
27 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
28 สัปดาห์ที่ 17 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึง น.มาร์ธา |
30 น.เปโตร คริโลโลโก พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
31 อาทิตย์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
ปฏิทินกิจกรรมเดือนสิงหาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 ระลึกถึง น.อัลฟองโซ มารีย์ เด ลิกวอรี พระสฆังชราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 น.เอวเซบิโอ แห่งแวร์แชลลี พระสังฆราช น.เปโตร ยูเลียน ไรม์ต พระสงฆ์ |
3 สัปดาห์ที่ 18 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ยอห์น มารีย์ เวียนเนย์ พระสงฆ์ |
5 วันถวายพระวิหารแม่พระแห่งหิมะ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ฉลพงพระเยซูเจ้าทรงประจักษ์พระวรกาย ต่อหน้าอัครสาวก |
7 อาทิตย์ที่ 19 เทศกาลธรรมดา ( วันสื่อมวลชนสากล ) |
8 ระลึกถึง น.โดมินิก พระสงฆ์ |
9 น.เทเรซา เบเนติกตาแห่งไม้กางเขน พรหมจารีและมรณสักขี |
10 ฉลองน.ลอเรนซ์ สังฆานุกรและ มรณสักขี |
11 ระลึกถึง น.กลารา พรหมจารี |
12 น.ฌาน ฟรังซังส์ เดอ ซังตาล นักบวช |
13 น.ปอนซีอาโน พระสันตะปาปาป และ น.ฮิปโปลิต พระสงฆ์ และ มรณสักขี |
14 อาทิตย์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
15 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา ( สมโภชพระนางมารีย์รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ เลื่อนไปสมโภชวันที่ 21 สิงหาคม ) |
16 น.สเตเฟนแห่งประเทศ ฮังการี |
17 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
18 สัปดาห์ที่ 20 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยอห์น เอิ๊ด พระสงฆ์ |
20 ระลึกถึง น.เบอร์นาร์ต เจ้าอธิการและ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
21 สมโภชพระนางมารีย์รับเกียติเข้าสู่สวรรค์ ทั้งกายและวิญญาณ |
22 ระลึกถึง พระนามารีย์ราชินีแห่งสากลโลก |
23 น.โรซา ชาวลีมา พรหมจารี |
24 ฉลอง น.บาร์โธโลมิว |
25 น.หลุยส์ กษัตริย์แห่งฝรั่งเศส น.โยเซฟ กาลาซานส์ พระสงฆ์ |
26 สัปดาห์ที่ 21 เทศกาลธรรมดา |
27 ระลึกถึง น.โมนิกา |
28 อาทิตย์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
29 ระลึกถึงน.ยอห์น แบปติสต์ ถูกตัดศีรษะ |
30 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนกันยายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดหา์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา |
2 สัปดาห์ที่ 22 เทศกาลธรรมดา ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ระลึก น.เกรโกรี พระสันตะปาปา และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
4 อาทิตย์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
5 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
6 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
7 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
8 ฉลองแม่พระบังเกิด |
9 น.เปโตร คลาแวร์ พระสงฆ์ |
10 สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา |
11 อาทิตย์ที่ 24 เทศกาลธรรมดา |
12 พระนามศักดิ์สิทธิ์ของพระนางมารีย์พรหมจารี |
13 ระลึกถึง น.ยอห์น ครีโซสตม พระสังฆราชและ นักปราชญ์ |
14 ฉลองเทิดทูนไม้กางเขน |
15 ระลึกถึงแม่่พระมหาทุกข์ |
16 ระลึกถึงน.คอร์เนเลียส พระสันตะปาปาและ น.ซีเปรียน พระสังฆราชและมรณสักขี |
17น.โรเบิร์ต แบลลาร์มีโน พระสังฆราชและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
18 อาทิตย์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
19 น.ยานูอารีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี |
20 ระลึกถึง น.อันดรูว์ กิม เตก็อน พระสงฆ์ เปาโล จง ฮาซัง และเพื่อนมรณสักขีขาวเกาหลี ( วันเยาวชนแห่งชาติ ) |
21 ฉลอง น.มัทธิว อัครสาวกและ ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
22 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
23 ระลึกถึง น.ปีโอแห่งปีเอเตรลชีนา พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 25 เทศกาลธรรมดา |
25 อาทิตย์ที่ 26 เทศกาลธรรมดา |
26 น.คอสมา และ น.ดาเมียน มรณสักขี |
27 ระลึกถึง น.วินเซนเดอปอล พระสงฆ์ |
28 น.แวนเชสเลาส์ มรณสักขี น.ลอเรนซ์ รุยส์ และเพื่อนมรณสักขี |
29 ฉลองอัครทูตสวรรค์ มีคาแอล คาเบรียล และ ราฟาแอล |
30 ระลึกถึง น.เยโรม พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
|
|
ปฏิทินเดือนตุลาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
|
|
1 ฉลองน.เทเรซาแห่งพระกุมารเยซู พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
2 อาทิตย์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
3 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
4 ระลึกถึง น.ฟรังซิส แห่งอัสซีซี |
5 ระลึกถึง น.โฟสตีนา โควัลสกา |
6 น.บรูโน พระสงฆ์ |
7 ระลึกถึง แม่พระลูกประคำ (วันศุกร์ต้นเดือน ) |
8 สัปดาห์ที่ 27 เทศกาลธรรมดา |
9 อาทิตย์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
10 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
11 น.ยอห์นที่ 23 พระสันตะปาปา |
12 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
13 สัปดาห์ที่ 28 เทศกาลธรรมดา |
14 น.กัลลิสตัส ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี |
15 ระลึกถึง น.เทเรซาแห่งอาวีลา พรหมจารี และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 อาทิตย์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา ( วันแพร่ธรรมสากล วันออกพรรษา ) |
17 ระลึกถึง น.อิกญาซีโอ ชาวอันติโอก พระสังฆราช และ มรณสักขี |
18 ฉลอง น.ลูกา ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
19 น.เปาโลแห่งไม้กางเขน พระสงฆ น.ยอห์น แห่ง เบรเบิฟ น.อิสอัค โยเกอ พระสงฆ์และ เพื่อนมรณสักขี |
20 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
21 สัปดาห์ที่ 29 เทศกาลธรรมดา |
22 น.ยอห์น ปอลที่ 2 พระสันตะปาปา |
23 อาทิตย์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา ( วันปิยมหาราช ) |
24 น.อันตน มารีย์ คลาเรต์ พระสังฆราช |
25 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
26 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
27 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
28 ฉลองน.ซีโมน และ น.ยูดาห์ อัครสาวก |
29 สัปดาห์ที่ 30 เทศกาลธรรมดา |
30 อาทิตย์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
31 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
|
|
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนพฤศจิกายน ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
1 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
2วันภาวนาอุทิศแด่ผู้ล่วงลับ |
3 น.มาร์ติน เด ปอเรส นักบวช |
4 ระลึกถึง น.ชาร์ส์ โบโรเมโอ พระสังฆราช ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
5 สัปดาห์ที่ 31 เทศกาลธรรมดา |
6 สมโภชนักบุญทั้งหลาย |
7 สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
8สัปดาห์ที่ 32 เทศกาลธรรมดา |
9 ฉลองวันครบรอบการถวายพระวิหารลาเตรัน |
10 ระลึกถึงน.เลโอ พระสันตะปาปา และ นักปราชญืแห่งพระศาสนจักร |
11 ระลึกถึง น.มาร์ติน แห่งตูร์ พระสังฆราช |
12 ระลึกถึง น.โยซาฟัต พระสังฆราชและมรณสักขี |
13 อาทิตย์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา ( วันสิทธิมนุษยชน ) |
14 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
15 น.อัลเบิร์ต ผู้ยิ่งใหญ่ พระสังฆราช และ นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
16 น.มาร์กาเร็ต แห่งสก็อตแลนด์ น.เยอร์ทรู๊ด พรหมจารี |
17 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
18 วันครบรอบการถวายพระวิหาร นักบุญเปโตร และ เปาโล อัครสาวก |
19 สัปดาห์ที่ 33 เทศกาลธรรมดา |
20 สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากลจักรวาล ( วันกระแสเรียก ) |
21 ระลึกถึง น.เอลิซาเบธ แห่งฮังการี นักบวช |
22 ระลึกถึงน.เซซีลีอา พรหมจารีและมรณสักขี |
23 น.เคลเมนต์ ที่ 1 พระสันตะปาปา และ มรณสักขี น.โคลัมบัน เจ้าอธิการ |
24 ระลึกถึง น.อันดรูว์ ดุง-ลัก พระสงฆ์และเพื่อนมรณสักขี |
25 น.กาทารีนา แห่ง อเล็กซานเดรีย พรหมจารีและมรณสักขี |
26 สัปดาห์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา |
27 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( เริ่มต้นปีพิธีกรรม ปี A ) |
28 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
29 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
30 ฉลอง น.อันดรูว์ อัครสาวก |
|
|
|
|
ปฏิทินเดือนธันวาคม ปี 2016
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
|
|
|
1 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันรณรงค์โรคเอดส์ ) |
2 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
3 ฉลองน.ฟรังซิสเซเวียร์ พระสงฆ์ องค์อุปถัมภ์มิสซัง |
4 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ ( พระคัมภีร์ ) |
5 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ( วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ) |
6 น.นิโคลัส พระสังฆราช |
7 ระลึกถึง น.อัมโบรส พระสังฆราชและนักปราชญ์ |
8 สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล |
9 น.ฮวน ดีเอโก |
10 สัปดาห์ที่ 2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ( วันรัฐธรรมนูญ ) |
11 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
12 พระนางมารีย์พรหมจารี แห่งกวาดาลูเป |
13 ระลึกถึง น.ลูเซีย พรหมจารี และ มรณสักขี |
14 ระลึกถึง น.ยอห์นแห่งไม้กางเขน นักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร |
15 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
16 ระลึกถึง บุญราศีทั้งเจ็ดแห่งสองคอน ( วันครูคำสอนไทย ) |
17 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
18 อาทิตย์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
19 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
20 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
21 น.เ)ตร คานีซีอัส พระสงฆ์และนักปราชญ์แห่ง |
22 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ |
23 น.ยอห์น แห่งเกตี้ พระสงฆ์ |
24 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ |
25 สมโภชพระคริสตสมภพ |
26 ฉลองน.สเทเฟน ปฐมมรณสักขี |
27 ฉลอง น.ยอห์น อัครสาวก ผู้นิพนธ์พระวรสาร |
28 ฉลองนักบุญทารกผู้วิมล |
29 น.โทมัส เบ็กเก็ต พระสังฆราช และมรณสักขี |
30 ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า |
31 น.ซิลเวสเตอร์ที่ 1 พระสันตะปาปา ( วันเริ่มต้นเทศกาลปีใหม่ ) |
|
ปฏิทินเดือนมกราคม ปี 2017
Mon |
Tue |
Wed |
Thu |
Fri |
Sat |
Sun |
1 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
2 ฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร ( เสกและแห่เทียน ) |
3 น.บลาซีโอ พระสังฆราชและมรณสักขี น.อันสการ์ พระสังฆราช |
4 สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลธรรมดา |
5 ระลึกถึง น.อากาทา พรหมจารีและมรณสักขี ( วันศุกร์ต้นเดือน ) |
6 ระลึกถึง น.เปาโล มีกิ พระสงฆ์และเพือนมรณสักขี |
7 อาทิตย์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
8 น.เยโรม เอมีลานี พระสงฆ์ น.โยเซผิน บาคีตา พรหมจารี |
9 สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลธรรมดา |
10 วันพุธรับเถ้า ( เริ่มเทศกาลมหาพรต ถือศีลอดอาหาร และ อดเนื้อ ) |
11 แม่พระประจักษ์ที่เมืองลูร์ด ( วันผู้ป่วยโลก ) |
12 หลังวันพุธรับเถ้า |
13 หลังวันพุธรับเถ้า |
14 อาทิตย์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
15 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
16 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
17 นักบุญเจ็ดองค์ผู้ตั้งคณะผู้รับใช้พระแม่มารีย์ |
18 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
19 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
20 สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลมหาพรต |
21 อาทิตย์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
22 ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตร อัครสาวก ( วันมาฆบูชา ) |
23 ระลึกถึง น.โปลีการ์ป พระสังฆราชและมรณสักขี |
24 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
25 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
26 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
27 สัปดหา์ที่ 2 เทศกาลมหาพรต |
28 อาทิตย์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
29 สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลมหาพรต |
|
|
|
|
|
|