หน้าหลักเช็คเมลล์ติดต่อเราสมุดเยี่ยมลิงค์คาทอลิกแผนผังเวบไซด์

ค้นหาข้อมูล :

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

บรรพ 3  หน้าที่การสอนของพระศาสนจักร

Can.747 $1. The Church, to whom Christ the Lord entrusted the deposit of faith so that, assisted by the Holy Spirit, it might reverently safeguard revealed truth, more closely examine it and faithfully proclaim and expound it, has the innate duty and right to preach the gospel to all nations, independent of any human power whatever, using the means of social communication proper to it.

$2. To the Church belongs the right always and everywhere to announce moral principles, including those pertaining to the social order, and to make judgments on any human affairs to the extent that they are required by the fundamental rights of the human person or the salvation of souls.

Can.748 $1. All persons are bound to seek the truth in matters concerning God and God’s Church; by divine law they also  are obliged and  have the right  to embrace and to observe that truth which they have recognized.

$2. Persons cannot ever be forced by anyone to embrace the Catholic faith against their conscience.

Can.749 $1. The Supreme Pontiff, in virtue of his office, possesses infallible teaching authority when, as supreme pastor and teacher of all the faithful, whose task is to confirm his fellow believers in the faith, he proclaims with a definitive act that a doctrine of faith or morals is to be held as such.

$2. The college of bishops also possesses infallible teaching authority when the bishops exercise their teaching office gathered together in an ecumenical council when, as teachers and judges of faith and morals, they declare that for the universal Church a doctrine of faith or morals must be definitively held; they also exercise it scattered throughout the world but united in a bond of communion among themselves and with the successor of Peter when together with  that same

Roman Pontiff in their capacity as authentic teachers of faith and morals they agree on an opinion to be held as definitive.

$3. No doctrine is understood to be infallibly defined unless it is clearly established as such.

Can.750  All that is contained in the written word of God or in tradition, that is, in the one deposit of faith entrusted to the Church and also proposed as divinely revealed either by the solemn magisterium of the Church or by its ordinary and universal magisterium, must be believed with divine and catholic faith; it is manifested by the common adherence of the Christian faithful under the leadership of the sacred magisterium; therefore, all are bound to avoid any doctrines whatever which are contrary to these truths.

Can.751 Heresy is the obstinate post-baptismal denial of some truth which must be believed with divine and catholic faith, or it is likewise an obstinate doubt concerning the same; apostasy is the total repudiation of the Christian faith; schism is the refusal of submission to  the    Roman   Pontiff  or   of communion with the members of the Church subject to him.

Can.752 A religious respect of intellect and will, even if not the assent of faith, is to be paid to the teaching which the Supreme Pontiff or the college of bishops enunciate on faith or morals when they exercise the authentic magisterium even if they do not intend to proclaim it with a definitive act; therefore the Christian faithful are to take care to avoid whatever is not in harmony with that teaching.

Can.753 Although they do not enjoy infallible teaching authority, the bishops in communion with the head and members of the college, whether as  individuals  or gathered   in conferences of bishops or in particular councils,  are authentic  teachers  and instructors of the faith for the faithful entrusted to their care; the faithful must adhere to the authentic teaching of their own bishops with a sense of religious respect.

Can. 754 All the Christian faithful are obliged to observe the constitutions and decrees which the legitimate authority of the Church issues in order to propose doctrine and proscribe erroneous opinions; this is especially true of the constitutions and decrees issued by the Roman Pontiff or the college of bishops.

Can. 755 $1. It  is within the special competence of the entire college of bishops and of the Apostolic See to promote and direct the participation of Catholics in the ecumenical movement, whose purpose is the restoration of unity among all Christians, which the Church is bound by the will of Christ to promote.

$2. It is like wise within the competence of bishops and, in accord with the norm of law, of conferences of bishops to promote the same unity and

to issue practical norms  for the needs and opportunities presented by diverse circumstances in light of the prescriptions of the supreme church authority.

๗๔๗ วรรค ๑ พระศาสนจักรซึ่งได้รับฝากข้อความเชื่อจากพระคริสตเจ้า เพื่อให้รักษาความจริงที่พระเจ้าไขแสดงไว้ ด้วยศรัทธาเพื่อพิจารณาศึกษาอย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้นและเพื่อประกาศและอธิบายอย่างซื่อ-สัตย์ โดยมีพระจิตเจ้าช่วยเหลือ มีหน้าที่และสิทธิโดยกำเนิดที่จะประกาศข่าวดีแก่นานาชาติ ไม่ขึ้นต่ออำนาจใดๆ ของมนุษย์ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารทางสังคมอันเหมาะสมกับตนเองด้วย

วรรค ๒ พระศาสนจักรมีหน้าที่เสมอไปและทุกหนทุกแห่งที่จะประกาศหลักศีลธรรมรวมทั้งสิ่งที่เกี่ยวกับระเบียบทางสังคมและมีหน้าที่ตัดสินทุกเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ในขอบข่ายที่เกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลมนุษย์หรือเกี่ยวกับความรอดของวิญญาณ

๗๔๘ วรรค ๑ มนุษย์ทุกคนมีพันธะต้องแสวงหาความจริง  ในเรื่องที่เกี่ยวกับพระเจ้าและพระศาสนจักรของพระองค์ และเมื่อพบความจริงแล้ว ก็มีหน้าที่และสิทธิที่จะรับและปฏิบัติตามโดยกฎหมายของพระเจ้า

วรรค ๒ ไม่มีใครสามารถบังคับใครให้มานับถือความเชื่อคาทอลิก โดยฝืนมโนธรรมของเขา

๗๔๙ วรรค ๑ สมเด็จพระสันตะปาปาทรงไม่ผิดพลาดในหน้าที่การสอน เมื่อพระองค์ทำหน้าที่ในฐานะที่เป็นชุมพา-บาลและอาจารย์สูงสุดของบรรดาคริสต-ชน พระองค์ทรงมีหน้าที่ทำให้พี่น้องของพระองค์มั่นคงในความเชื่อ  และมีหน้าที่ประกาศและชี้ขาดข้อคำสอนที่ต้องเชื่อและศีลธรรมที่ต้องปฏิบัติ

วรรค ๒ คณะพระสังฆราชมีอำนาจในการสอนอย่างไม่ผิดพลาดด้วย เมื่อพระสังฆราชใช้อำนาจในการสอนในการประชุมร่วมกันในสังคายนาสากล  เมื่อพวกท่านประกาศข้อความเชื่อและศีลธรรมที่ต้องยึดถืออย่างเด็ดขาด สำหรับพระศาสนจักรสากลในฐานะอาจารย์และตุลาการแห่งความเชื่อและศีลธรรม พวกท่านยังใช้อำนาจนี้ขณะที่กระจายอยู่ทั่วโลกด้วย โดยรักษาสาย-สัมพันธ์ระหว่างพวกท่านเองและกับผู้สืบตำแหน่ง นักบุญเปโตร สอนเรื่องความเชื่อและศีลธรรม      ในฐานะผู้สอนอย่าง

แท้จริงรวมกับพระสันตะปาปาองค์เดียวกัน ลงความเห็นเป็นเสียงเดียวกันว่า คำสอนนั้นต้องถือเป็นเด็ดขาด

วรรค ๓ ต้องเข้าใจว่าไม่มีคำสอนใดเป็นคำสอนที่ไม่ผิดพลาด เว้นแต่ว่าคำสอนนั้น กำหนดเป็นเช่นนั้นอย่างแจ้งชัด

๗๕๐  คำสอนทุกประการ ซึ่งมีอยู่ในพระวาจาของพระเจ้าที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรก็ดี ที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาก็ดี กล่าวคือที่มีอยู่ในคลังความเชื่อ ซึ่งพระศาสนจักรได้รับมอบไว้และได้สอนว่าเป็นคำสอนที่พระเจ้าไขแสดง   ไม่ว่าด้วยอำนาจสอนที่สอนอย่างสง่าหรืออย่างปกติและสากล ต้องเชื่อด้วยความเชื่อแบบเป็นพระวาจาของพระเจ้าและแบบเป็นคำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก ความเชื่อนี้แสดงออกโดยการยอมรับร่วมกันของคริสตชน ภายใต้การนำของอำนาจสอนอันศักดิ์สิทธิ์ เพราะฉะนั้น ทุกคนมีพันธะต้องหลีกเลี่ยงคำสอนใดๆ ไม่ว่าที่ขัดแย้งต่อความจริงเหล่านี้

๗๕๑ การเป็นเฮเรติกคือ การปฏิเสธอย่างดื้อดึงหลังการรับศีลล้างบาปต่อความจริงบางประการที่ต้องเชื่อด้วยความเชื่อแบบเป็นพระวาจาพระเจ้า           และแบบเป็นคำสอนคาทอลิกหรือเช่นเดียวกันเป็นการสงสัยอย่างดื้อดึงเกี่ยวกับเรื่องเดียวกันนั้น  การเป็นอาโปสตาตา คือ การละทิ้งความเชื่อคริสตชนทั้งหมด การเป็นกิสมาติกคือ การไม่ยอมขึ้นกับพระสันตะปาปาหรือไม่ยอมอยู่ร่วมในวงสัมพันธ์  กับสมาชิกพระศาสนจักรที่ภักดีต่อองค์สมเด็จพระสันตะปาปา

๗๕๒ แม้ไม่ต้องยินยอมด้วยความเชื่อ กระนั้นก็ดี ต้องน้อมรับด้วยศรัทธาด้านสติปัญญาและจิตใจ ต่อคำสอนซึ่งพระสันตะปาปาก็ดี คณะพระสังฆราชก็ดี  ประกาศเกี่ยวกับความเชื่อและศีลธรรม ขณะที่ท่านใช้อำนาจสอนแท้จริง แม้ว่าท่านไม่ตั้งใจสอนคำสอนนั้นแบบชี้ขาด เพราะฉะนั้นคริสตชนต้องเอาใจใส่หลีก-เลี่ยงสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับคำสอนนั้น

๗๕๓ บรรดาพระสังฆราช ซึ่งอยู่ในวงสัมพันธ์กับหัวหน้าและสมาชิกของคณะพระสังฆราช ไม่ว่าจะเป็นรายบุคคล หรือชุมนุมกันในสภาพระสังฆราช หรือในการประชุมเฉพาะ  แม้ว่าพวกท่านจะไม่มีอภิสิทธิ์สอนอย่างไม่ผิดพลาดแต่ท่านก็เป็นอาจารย์และผู้สอนที่แท้จริงด้านความเชื่อแก่สัตบุรุษ ซึ่งอยู่ในความดูแลของท่าน สัตบุรุษต้องยึดมั่นในคำสอนแท้จริงของพระสังฆราชของตนเอง ด้วยจิตศรัทธาภักดี

๗๕๔ คริสตชนทุกคนมีพันธะต้องถือ ธรรมนูญและคำสั่ง ซึ่งผู้มีอำนาจที่ชอบด้วยกฎหมายของพระศาสนจักรประกาศออกมา เพื่อเสนอคำสอนและประณามความคิดเห็นที่ผิด  ที่ว่านี้เป็นจริง  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  สำหรับธรรมนูญและคำสั่งที่ออกโดยพระสันตะปาปาหรือคณะพระสังฆราช

๗๕๕ วรรค ๑ เป็นหน้าที่ของคณะพระสังฆราชทั้งมวลและของสันตะสำนักที่จะส่งเสริมและนำขบวนการศาสนสัมพันธ์ในหมู่คาทอลิก จุดประสงค์ก็คือเพื่อฟื้นฟูความเป็นหนึ่งเดียวระหว่างคริสตชนทั้งปวง ซึ่งเป็นน้ำพระทัยของพระคริสตเจ้าที่จะให้พระศาสนจักรต้องทำหน้าที่นี้

วรรค ๒ เช่นเดียวกัน เป็นหน้าที่ของบรรดาพระสังฆราช และตามกฎเกณฑ์ของกฎหมาย เป็นหน้าที่ของสภาพระสังฆราชด้วยที่จะส่งเสริมความ เป็นหนึ่งเดียวกันนี้  และออกกฎเกณฑ์เชิงปฏิบัติตามความจำเป็นและโอกาสของสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดยคำนึงถึงข้อกำหนดที่ออกโดยอำนาจสูงสุดของพระศาสนจักร