หน้าหลักเช็คเมลล์ติดต่อเราสมุดเยี่ยมลิงค์คาทอลิกแผนผังเวบไซด์

ค้นหาข้อมูล :

- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

หมวด 3 หนังสือตอบ

Can. 59  $1. A rescript is an administrative act issued in writing by competent executive authority by which through its very nature a privilege, dispensation, or other favor is granted in response to someone’s request.

$2.  The prescriptions established for rescripts also apply to the verbal granting of a permission or of favors, unless it is otherwise evident.

acceptance, with due regard for contrary clauses.

Can. 62  A rescript for which no executor is given takes effect from the moment when the letter is issued; other rescripts take effect from the moment of execution.

Can. 63  $1. Subreption, or the concealment of the truth, invalidates a rescript if those things which must be expressed in the request for validity according to the law, style, and canonical practice were not expressed; this does not apply to a rescript of favor which given motu proprio.

$2.  Obreption or statements of falsehood, likewise invalidates a rescript if not even one proposed motivating reason is true.

$3.  For rescripts which have no executor the motivating reason must be true at the time when the rescript is issued; for other rescripts as the time of execution.

Can. 64  With due regard for the authority of the Sacred Penitentiary in the internal forum, a favor which has been denied by one  dicastery

of the Roman Curia cannot be validly granted by another dicastery or by another competent authority below the Roman Pontiff without the consent of the dicastery before which the matter was initiated.

Can. 65  $1  With due regard for the prescriptions of $$2 and 3, no one should petition for a favor from another ordinary which has been denied by one’s own ordinary unless mention of the denial has been made. Even after such mention has been made, the second ordinary should not grant

the favor unless he has obtained the reasons for the denial from the prior ordinary.

$2 A favor which has been denied by a vicar general or by an episcopal vicar cannot be granted validly by another vicar of the same bishop even if the reasons for the denial have been obtained from the vicar who denied it.

$3 A favor which has been denied by a vicar general or by an episcopal vicar and later  procured (Roman Curia) from the diocesan bishop without mentioning this denial is invalid. But a favor which has been denied by the diocesan bishop cannot be procured validly from his vicar general or episcopal vicar without the consent of the bishop, even if mention of the denial has been made.

Can. 66  A rescript does not become invalid due to an error in the name of the person to whom it is given or from whom it is issued or an error in the name of the place where the person is staying or the matter being treated provided that there is no doubt concerning the identity of the person or the matter in question in the judgment of the ordinary.

Can. 67  $1  If it happens that two contradictory rescripts are procured concerning one and the same thing the special rescript prevails over the general one in those matters which are specifically expressed.

$2 If they are equally special or general in character, the first  one issued pervails over the

one issued later, unless express mention of the prior one is made in the second one or unless the person who had procured the prior rescript had not used it out of deceit or notable negligence.

$3 When where is doubt about whether a rescript is valid or not, recourse should be had to the one issuing it.

Can. 68  A rescript of the Apostolic See in which no executor is given must be presented to the ordinary of the person who obtained it only when such action is ordered by the rescript itself, or when it deals with public affairs, or when it is necessary to prove that the attached conditions have been satisfield.

Can. 69  When no definite time is set for its presentation, a rescript can be presented to its executor at any time whatoever, provided fraud and deceit are absent.

Can. 70  If granting of a rescript is entrusted to an executor, the favor can be granted or denined in accord with the executor’s prudent judgment and conscience.

Can. 71  No one is bound to use a rescript granted for one’s own advantage alone, unless one is otherwise bound to do so by a canonical obligation.Can. 73  No rescripts are revoked by a contrary law unless it is provided otherwise in the law itself.

 Can. 72 Rescript granted by the Apostolic See which have expired can be extended once by a diocesan bishop for a just reason, but not beyond three months.

Can. 73  No rescripts are revoked by a contrary law unless it is provided otherwise in the law itself.

Can. 74  Although a person can use in the internal forum a favor granted only orally, the person is bound to prove it for the external forum whenever this is legitimately requested.

Can. 75  If a rescript contains a privilege or a dispensation, the prescriptions of the following canons are likewise to be observed

๕๙.วรรค ๑  หนังสือตอบเป็นบัญญัติการบริหารที่ออกเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้ใหญ่ผู้ปฏิบัติที่มีอำนาจ  ซึ่งหนังสือตอบนี้โดยธรรมชาติแล้วเป็นการให้สิทธิพิเศษการยกเว้น หรือความดีความชอบอื่น ๆ ตามคำขอของผู้ใดผู้หนึ่ง

วรรค ๒ ข้อกำหนดที่บัญญัติสำหรับหนังสือตอบใช้ได้เช่นกันสำหรับการให้ด้วยวาจา  เรื่องการให้อนุญาตหรือการให้ความดีความชอบ เว้นไว้แต่ว่า เป็นที่ประจักษ์ชัดว่าเป็นอย่างอื่น

๖๐.  ทุกคนที่มิได้ถูกห้ามขออย่างแจ้งชัด สามารถขอหนังสือตอบใดๆ ก็ได้

๖๑.  เว้นไว้แต่ว่า เป็นที่ประจักษ์ชัดเป็นอย่างอื่น หนังสือตอบสามารถขอแทนกันได้  แม้โดยมิได้รับความยินยอมจากผู้นั้น และมีผลก่อนการยอมรับของผู้นั้น โดยคงไว้ซึ่งข้อความที่ที่ตรงกันข้าม

๖๒.  หนังสือตอบที่มิได้กำหนดให้มีผู้ปฏิบัติการ มีผลทันทีที่มีหนังสือออกไป หนังสือตอบอื่น ๆ มีผลจากขณะเมื่อปฏิบัติการ

๖๓. วรรค ๑ (Subreption)การอำพรางหรือการปิดบังความจริงทำให้หนังสือตอบเป็นโมฆะ หากความจริงเหล่านั้นตามกฎหมาย ตามรูปแบบและตามธรรมเนียมปฏิบัติของพระศาสนจักรจะต้องแสดง เพื่อให้มีผลตามกฎหมายมิได้รับการปฏิบัติ ยกเว้นเกี่ยวกับหนังสือตอบ  การให้ความดีความชอบที่มาจากความคิดของผู้ออกเอง

วรรค ๒ เช่นเดียวกัน (Obreption) การแสดงข้อความอันเป็นเท็จ  มีผลทำให้หนังสือตอบเป็นโมฆะ หากเหตุผลในการเสนอไม่มีความเป็นจริงแม้แต่ข้อเดียว

วรรค ๓ เหตุผลในการออกหนังสือตอบประเภทที่ไม่มีผู้ปฏิบัติการ  จะต้องเป็นจริงขณะที่ออกหนังสือตอบ สำหรับหนังสือตอบประเภทอื่นต้องเป็นจริงขณะปฏิบัติการ

๖๔.  โดยคงไว้ซึ่งอำนาจของหน่วยงานทางศีลอภัยในเรื่องภายใน ความดีความชอบที่หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งในองค์การปกครองส่วนกลางของ

พระศาสนจักร (Roman Curia) ปฏิเสธแล้ว หน่วยงานอื่น ๆ  หรือผู้ใหญ่ผู้มีอำนาจอื่นที่ต่ำกว่าพระสันตะปาปาไม่สามารถให้ได้อย่างมีผลตามกฎหมาย  เว้นแต่ว่าหน่วยงานแรกที่รับเรื่องให้ความยินยอมก่อน

๖๕.  โดยคงไว้ซึ่งข้อกำหนดในวรรค ๒ และ ๓  ห้ามผู้ใดทำการร้องขอความดีความชอบจากผู้ใหญ่ผู้ทรงอำนาจอื่น ในเรื่องที่ผู้ใหญ่ผู้ทรงอำนาจของตนได้ปฏิเสธไปแล้ว  เว้นไว้แต่ว่า  ได้มีการกล่าวถึงการปฏิเสธก่อนแล้ว แม้ว่าได้มีการกล่าวถึงการปฏิเสธแล้วก็ตาม  ผู้ใหญ่ผู้ทรงอำนาจคนที่สองก็ไม่ควรให้ความดีความชอบ  หากมิได้รับทราบเหตุผลของการปฏิเสธจากผู้ใหญ่ผู้ทรงอำนาจคนแรกเสียก่อน

วรรค ๒ ความดีความชอบที่ถูกปฏิเสธโดยอุปสังฆราชหรือผู้ช่วยพระสังฆราชไปแล้ว อุปสังฆราชหรือผู้ช่วยพระสังฆราชอื่นที่ขึ้นต่อพระสังฆราชองค์เดียวกัน ไม่สามารถมอบความดีความชอบนั้นได้อย่างมีผลตามกฎหมาย  แม้จะได้รับเหตุผลของการปฏิเสธจากอุปสังฆราชหรือผู้ช่วยพระสังฆราชผู้ปฏิเสธมาก่อนแล้วก็ตาม

วรรค ๓ ความดีความชอบที่ถูกปฏิเสธโดยอุปสังฆราชหรือผู้ช่วยพระสังฆราชไปแล้ว หลังจากนั้นได้รับ

ความดีความชอบนั้นจากพระสังฆราชสังฆมณฑลโดยมิได้กล่าวถึงการถูกปฏิเสธมาก่อน  ให้ถือเป็นโมฆะ  แต่ความดีความชอบที่เคยถูกปฏิเสธโดยพระสังฆราชสังฆมณฑลแล้ว ไม่สามารถขอรับอย่างมีผลตามกฎหมายจากอุปสังฆราชหรือผู้ช่วยพระสังฆราช  หากมิได้รับความยินยอมจากพระสังฆราชผู้นั้นก่อน  แม้ว่าจะมีการกล่าวถึงการถูกปฏิเสธมาก่อนก็ตาม

๖๖.  หนังสือตอบไม่กลายเป็นโมฆะ เนื่องจากมีการผิดพลาดเรื่องชื่อผู้รับหรือผู้ออก หรือผิดพลาดเรื่องสถานที่ที่ผู้นั้นอาศัยอยู่  หรือผิดเนื้อหาของเรื่อง ขอแต่ว่าในการวินิจฉัยของผู้ใหญ่ผู้ทรงอำนาจนั้นไม่สงสัยเกี่ยวกับตัวบุคคลหรือเกี่ยวกับเรื่องที่พิจารณา

๖๗.  วรรค ๑  หากมีการได้รับหนังสือตอบ ๒ ฉบับขัดแย้งในเรื่องเดียวกัน  ให้หนังสือตอบพิเศษอยู่เหนือหนังสือตอบทั่วไปในเรื่องต่าง ๆ เหล่านั้นที่มีกล่าวถึงโดยเฉพาะ

วรรค ๒ หากเป็นหนังสือตอบที่มีลักษณะพิเศษเท่ากัน หรือทั่วไปเท่ากัน      ให้หนังสือตอบฉบับที่ออกก่อนอยู่เหนือฉบับที่ออกหลัง  เว้นไว้แต่ว่ามีการระบุไว้อย่างชัดถึงฉบับแรกในฉบับหลัง หรือเว้นแต่เมื่อผู้ขอหนังสือตอบฉบับแรกมิได้นำมาใช้เพราะเจตนาหลอกลวง  หรือเพราะการเพิกเฉยอย่างเห็นได้ชัด

วรรค ๓ เมื่อมีการสงสัยว่าหนังสือตอบนั้นเป็นโมฆะหรือไม่ ควรมีการตรวจสอบกับผู้ออกหนังสือตอบนั้น

๖๘.  หนังสือตอบของสันตะสำนักที่ไม่มีการกำหนดผู้ปฏิบัติการ ต้องส่งให้แก่ผู้ใหญ่ผู้ทรงอำนาจของบุคคลผู้

ได้รับหนังสือตอบ เฉพาะเมื่อมีกำหนดไว้ให้ทำเช่นนั้นในหนังสือตอบนั้นเท่านั้น  หรือเมื่อหนังสือตอบนั้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับส่วนรวม  หรือเมื่อเป็นเรื่องที่ต้องมีการพิสูจน์เงื่อนไขที่ติดมาว่าได้รับการปฏิบัติครบถ้วนแล้ว

๖๙.  เมื่อไม่มีการกำหนดเวลาที่แน่นอนในการส่งมอบหนังสือตอบ จะส่งหนังสือตอบแก่ผู้ปฏิบัติการเมื่อใดก็ได้  ขอแต่ว่าอย่าให้มีการหลอกลวงหรือ คดโกง

๗๐.  หากในหนังสือตอบมีการมอบให้ผู้ปฏิบัติการทำหน้าที่ให้ความดีความชอบ  ผู้ปฏิบัติการสามารถให้หรือปฏิ-

เสธความดีความชอบนั้นตามวิจารณญาณที่รอบคอบ และมโนธรรมของตน๗๑.  ไม่มีผู้ใดถูกผูกมัดให้ใช้หนังสือตอบที่มอบให้เพื่อผลประโยชน์ตามลำพังของตนเอง เว้นไว้แต่ว่าผู้นั้นถูกผูกมัดให้ใช้จากแหล่งอื่นโดยข้อบังคับของกฎหมาย

๗๒.  เมื่อหนังสือตอบที่สันตะสำนักมอบให้หมดอายุลง  พระสังฆราชประจำสังฆมณฑลสามารถต่ออายุได้เพียงครั้งเดียว เมื่อมีเหตุผลสมควร แต่ต้องไม่เกิน 3 เดือน

๗๓.  ไม่มีหนังสือตอบใดถูกยกเลิกโดยกฎหมายที่ขัดแย้ง  เว้นไว้แต่ว่ามีการระบุไว้เป็นอย่างอื่นในตัวบทกฎหมายเอง

๗๔.  แม้ว่าบุคคลใดจะสามารถใช้ความดีความชอบที่ได้รับมาทางวาจาเท่านั้นเป็นการภายใน  (internal forum) ผู้นั้นจำต้องพิสูจน์ให้เห็นเป็นการภายนอก  (external forum) เมื่อมีการขอให้พิสูจน์โดยถูกต้องตามกฎหมาย

๗๕.  หากหนังสือตอบมีเรื่องสิทธิพิเศษ หรือการยกเว้น  จะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของมาตราต่าง ๆ ต่อไปนี้ด้วย